โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อักษรบาหลี

ดัชนี อักษรบาหลี

อักษรบาหลี หรือ จารากัน (Carakan) พัฒนามาจากอักษรพราหมี ผ่านทางอักษรปัลลวะ หรืออักษรกวิโบราณ จารึกเก่าสุดในภาษาบาหลี มีอายุราว..

23 ความสัมพันธ์: ภาษาบาหลีภาษาซาซะก์อักษรชวาอักษรบาตักอักษรบูฮิดอักษรฟินิเชียอักษรพราหมีอักษรกวิอักษรละตินอักษรลนตาราอักษรสระประกอบอักษรฮานูโนโออักษรตักบันวาอักษรปัลลวะอักษรแอราเมอิกอักษรไบบายินอักษรเรชังจังหวัดบาหลีประเทศอินโดนีเซียเกาะชวาเกาะลมบกเกาะซูลาเวซีเกาะนูซาเปอนีดา

ภาษาบาหลี

ษาบาหลี เป็นภาษาท้องถิ่นของเกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ใช้พูดในเกาะชวา เกาะบาหลีและเกาะลอมบอก มีผู้พูด 3.8 ล้านคน คิดเป็น 2.1 % ของประชากรอินโดนีเซียทั้งประเทศ โดยที่ชาวบาหลีส่วนใหญ่จะพูดภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาที่สอง เขียนด้วยอักษรบาหลีและอักษรละติน เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน ใกล้เคียงกับภาษาซาซักและภาษากัมเบอราในเกาะซุมบาวา มีการแบ่งระดับชั้นภายในภาษ.

ใหม่!!: อักษรบาหลีและภาษาบาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซาซะก์

ษาซาซะก์ เป็นภาษาที่พูดโดยชาวซาซักซึ่งอยู่ในเกาะลอมบอก ประเทศอินโดนีเซีย มีความใกล้เคียงกับภาษาบาหลีและภาษากัมเบอราในเกาะซุมบาวา แบ่งเป็น 5 สำเนียง.

ใหม่!!: อักษรบาหลีและภาษาซาซะก์ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรชวา

อักษรชวา (ภาษาชวา: 110px อักซาราจาวา) หรือ ฮานาจารากา (90px) เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาชวา โดยก่อนหน้าที่จะใช้อักษรชวาเขียน ราว..

ใหม่!!: อักษรบาหลีและอักษรชวา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรบาตัก

อักษรบาตัก (Karo Batak syllabic alphabet) หรือ ซูรัตบาตัก พัฒนามาจากอักษรพราหมี ผ่านทางอักษรปัลลวะและอักษรกวิรุ่นเก่า เขียนจากล่างขึ้นบนในแนวตั้ง เริ่มจากซ้ายไปขวา มีที่มาจาการเขียนบนไม้ไผ่ เฉพาะนักบวชเท่านั้นที่อ่านเขียนอักษรนี้ได้ มีความแตกต่างกันเล็กน้อยสำหรับอักษรที่ใช้เขียนภาษาต่างกัน.

ใหม่!!: อักษรบาหลีและอักษรบาตัก · ดูเพิ่มเติม »

อักษรบูฮิด

อักษรบูฮิดหรือมังยัน พัฒนามาจากอักษรกวิของชวา บาหลี และสุมาตรา ซึ่งมาจากอักษรปัลลวะอีกทีหนึ่ง อักษรนี้ยังใช้อยู่ในฟิลิปปินส์ โดยชาวบูฮิดในมินโดโร เขียนจากซ้ายไปขวา ในแนวนอน อักษรแต่ละตัวมีเสียงสระเกาะอยู่ และจะเปลี่ยนเสียงสระเมื่อเพิ่มเครื่องหมายบนพยัญชน.

ใหม่!!: อักษรบาหลีและอักษรบูฮิด · ดูเพิ่มเติม »

อักษรฟินิเชีย

ัญชนะและตัวเลขของอักษรฟินิเชีย อักษรฟินิเชีย พัฒนามาจากอักษรคานาอันไนต์ยุคแรกเริ่ม ซึ่งปรากฏครั้งแรกราว 1,800-1,700 ปีก่อนคริสต์ศักราช จารึกเก่าสุดมาจากเมืองโบราณไบบลอส อายุราว 1,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช มีอักษร 22 ตัว ไม่มีเครื่องหมายสระ ชื่อตัวอักษรเหมือนที่ใช้เรียกอักษรฮีบรู.

ใหม่!!: อักษรบาหลีและอักษรฟินิเชีย · ดูเพิ่มเติม »

อักษรพราหมี

อักษรพราหมี อักษรพราหมี (อ่านว่า พราม-มี) เป็นต้นกำเนิดของอักษรในอินเดียมากมาย รวมทั้งอักษรเขมรและอักษรทิเบตด้วย พบในอินเดียเมื่อราว..

ใหม่!!: อักษรบาหลีและอักษรพราหมี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรกวิ

ตราประทับ "บูตวน คำว่าบูตวนเขียนด้วยอักษรกวิ (ด้านซ้ายเป็นตรา; ด้านขวาเป็นรอยประทับ) อักษรกวิ (กะ-วิ) เป็นอักษรที่พัฒนามาจากอักษรในอินเดียใต้ ใช้ในบริเวณหมู่เกาะ เช่น ชวา สุมาตรา ทางภาคใต้ของไทยมีหลักฐานว่าเคยใช้อักษรนี้แต่ไม่แพร่หลายมากนัก ก่อนจะเปลี่ยนมาใช้อักษรไทยและอักษรขอม อักษรกวิไม่มีบ่าอักษรเช่นเดียวกับอักษรมอญโบราณ.

ใหม่!!: อักษรบาหลีและอักษรกวิ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรละติน

อักษรละติน หรือ อักษรโรมัน เป็นระบบตัวเขียนแบบตัวอักษร สันนิษฐานว่าอักษรละตินมีที่มาจากอักษรคิวมี (Cumae alphabet) ซึ่งดัดแปลงมาจากอักษรกรีกอีกทอดหนึ่ง ที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก โดยเฉพาะประเทศในยุโรปและอเมริกา และประเทศในเอเชียที่นำอักษรละตินมาใช้ในภายหลังเช่น ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศเวียดนาม ประเทศมาเลเซีย ประเทศเติร์กเมนิสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศอาเซอร์ไบจาน ประเทศตุรกี และประเทศฟิลิปปินส์ รวมถึงการเขียนภาษาด้วยอักษรโรมัน (romanization) ในภาษาต่างๆ เช่น พินอิน (ภาษาจีน) หรือ โรมะจิ (ภาษาญี่ปุ่น).

ใหม่!!: อักษรบาหลีและอักษรละติน · ดูเพิ่มเติม »

อักษรลนตารา

อักษรลนตารา หรือ อักษรมากาซาร์ (Lontara or Makasar alphabet) พัฒนามาจากอักษรพราหมี คำว่าลนตาราเป็นภาษามลายูหมายถึงชื่อของใบปาล์มลนตราที่ใช้เขียนหนังสือในอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้จนถึงอินโดนีเซีย ตรงกับใบลานในภาษาไทยใช้เขียน ภาษาบูกิส ภาษามากาซาร์ และภาษามันดาร์ ภาษากลุ่มออสโตรนีเซียน มีผู้พูดในเกาะซูลาเวซี ปัจจุบันใช้เขียนเฉพาะภาษามากาซาร.

ใหม่!!: อักษรบาหลีและอักษรลนตารา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรสระประกอบ

อักษรเทวนาครีเป็นอักษรสระประกอบชนิดหนึ่ง อักษรสระประกอบ เป็นรูปแบบของระบบการเขียนรูปแบบหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วยพยัญชนะและสระ แต่พยัญชนะจะมีความสำคัญมากกว่าสระ ซึ่งแตกต่างจากอักษรสระ-พยัญชนะ (alphabet) ที่เป็นระบบการเขียนทั้งสระและพยัญชนะจะมีความสำคัญเท่าเทียมกัน และแตกต่างจากอักษรไร้สระ (abjad) ซึ่งมักจะไม่มีรูปสระปรากฏอยู่เลย ในบรรดาระบบการเขียนทั้งหมดในโลกนี้ มีอยู่ประมาณครึ่งหนึ่งของระบบการเขียนทั้งหมดที่เป็นอักษรสระประกอบ ซึ่งอักษรไทยก็เป็นหนึ่งในนั้นเช่นกัน คำว่า "อักษรสระประกอบ" เป็นคำแปลจากคำว่า abugida ซึ่งเป็นคำที่ Peter T. Daniels นำมาใช้เรียกระบบการเขียนรูปแบบนี้ โดยคำนี้มาจากชื่อของอักษรเอธิโอเปีย (’ä bu gi da) ในภาษาเอธิโอเปีย โดยนำมาจากชื่ออักษรสี่ตัวของอักษรเอธิโอเปีย (ในทำนองเดียวกับคำว่า alphabet ที่มาจากชื่ออักษรกรีก แอลฟา และ บีตา) ต่อมาในปี..

ใหม่!!: อักษรบาหลีและอักษรสระประกอบ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรฮานูโนโอ

อักษรฮานูโนโอ (Hanunó'o) หรืออักษรมังยัน ใช้ในฟิลิปปินส์เมื่อราว..

ใหม่!!: อักษรบาหลีและอักษรฮานูโนโอ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรตักบันวา

อักษรตักบันวา ใช้ในฟิลิปปินส์เมื่อราว..

ใหม่!!: อักษรบาหลีและอักษรตักบันวา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรปัลลวะ

รึกอักษรปัลลวะที่พบในศรีลังกา อักษรปัลลวะ เป็นอักษรสระประกอบที่มีต้นกำเนิดมาจากอินเดียใต้ มีอายุอยู่ในช่วงระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 6 - 14 ซึ่งได้พัฒนาจนกลายเป็นอักษรทมิฬและอักษรมาลายาลัมในปัจจุบัน อักษรดังกล่าวเคยใช้เขียนภาษาทมิฬและภาษามาลายาลัม โดยเข้าไปแทนที่อักษรแบบเดิมซึ่งมีต้นกำเนิดจากอักษรพราหมีและยังใช้เขียนภาษากลุ่มดราวิเดียนอื่น ๆ ด้วย อักษรปัลลวะเป็นอักษรชนิดแรกที่แพร่เข้ามาสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเป็นอักษรต้นแบบของอักษรมอญโบราณ อักษรขอมโบราณ และอักษรกวิ ซึ่งอักษรทั้งสามประเภทก็เป็นอักษรต้นแบบให้กับอักษรเกือบทั้งหมดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ใหม่!!: อักษรบาหลีและอักษรปัลลวะ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรแอราเมอิก

อักษรแอราเมอิก (Aramaic alphabet) พัฒนาขึ้นในช่วง 1,000 - 900 ปีก่อนคริสต์ศักราช โดยเข้ามาแทนที่อักษรรูปลิ่มของอัสซีเรียซึ่งเป็นระบบการเขียนหลักของจักรวรรดิอัสซีเรีย อักษรนี้เป็นต้นกำแนิดของอักษรตระกูลเซมิติกอื่น ๆ และอาจเป็นต้นกำเนิดของอักษรขโรษฐี ที่ใช้ในแถบเอเชียกลางแถบแคว้นคันธาระและพื้นที่ใกล้เคียง ในช่วง 600 ปีก่อนคริสต์ศักราช อักษรแอราเมอิกยุคแรกเริ่มถูกแทนที่ด้วยอักษรฮีบรูทรงเหลี่ยม ที่รู้จักต่อมาในชื่ออักษรแอราเมอิก.

ใหม่!!: อักษรบาหลีและอักษรแอราเมอิก · ดูเพิ่มเติม »

อักษรไบบายิน

อักษรไบบายิน (Baybayin alphabet) เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาตากาล็อกและภาษาอีโลกาโน ได้ต้นแบบมาจากอักษรกวิ คาดว่าเริ่มใช้เมื่อราว..

ใหม่!!: อักษรบาหลีและอักษรไบบายิน · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเรชัง

อักษรเรชัง (Rejang, บางครั้งอาจสะกดเป็น Redjang) พัฒนามาจากอักษรพราหมี โดยผ่านทางอักษรปัลวะ หรืออักษรกวิ นักภาษาศาสตร์บางคนเชื่อว่า มีความต่อเนื่องระหว่าง อักษรเรชัง ไฮโรกลิฟฟิคของอียิปต์ และอักษรตระกูลเซมิติก เช่น อักษรฮีบรู.

ใหม่!!: อักษรบาหลีและอักษรเรชัง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบาหลี

หลี (Bali) เป็น 1 ใน 34 จังหวัดของประเทศอินโดนีเซีย เมืองสำคัญคือเดินปาซาร์ พื้นที่ทั้งหมด 5,634.40 ตารางกิโลเมตร มีประชากรทั้งสิ้น 3,422,600 คน ความหนาแน่นของประชากร 607 คน/ตารางกิโลเมตร ภาษาที่ใช้คือภาษาอินโดนีเซียและภาษาบาหลี.

ใหม่!!: อักษรบาหลีและจังหวัดบาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินโดนีเซีย

อินโดนีเซีย (Indonesia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republik Indonesia) เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน (Kalimantan), ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน (Irian) และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์ (Timor).

ใหม่!!: อักษรบาหลีและประเทศอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

เกาะชวา

กาะชวา (อินโดนีเซีย: Pulau Jawa, ชวา: Pulo Jawa) เป็นชื่อเดิมของหมู่เกาะที่ตั้งอยู่ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปัจจุบันคือประเทศอินโดนีเซีย และเป็นที่ตั้งของเมืองหลวง จาการ์ตา เป็นเกาะที่มีประชากรมากที่สุดในโลก และมีประชากรมากกว่าทวีปออสเตรเลียและแอนตาร์กติกา (รายชื่อเกาะตามจำนวนประชากร) มีเนื้อที่ 132,000 ตารางกิโลเมตร ประชากร 127 ล้านคน และมีความหนาแน่นประชากร 864 คนต่อกม.² ซึ่งถ้าเกาะชวาเป็นประเทศแล้วจะมี ความหนาแน่นประชากรเป็นปันดับ 2 รองจากประเทศบังคลาเทศ ยกเว้นนครรัฐที่มีขนาดเล็ก หมวดหมู่:เกาะในประเทศอินโดนีเซีย หมวดหมู่:เกาะในมหาสมุทรอินเดีย.

ใหม่!!: อักษรบาหลีและเกาะชวา · ดูเพิ่มเติม »

เกาะลมบก

ลมบก (Lombok) เป็นเกาะที่อยู่ทางตะวันออกของเกาะบาหลี คำว่า "ลมบก" ในภาษาชวาหมายถึงพริกขี้หนู ตั้งอยู่ในจังหวัดนูซาเติงการาตะวันตก ประเทศอินโดนีเซี.

ใหม่!!: อักษรบาหลีและเกาะลมบก · ดูเพิ่มเติม »

เกาะซูลาเวซี

ซูลาเวซี (Sulawesi) หรือเดิมเรียกว่า เซเลบีส (Celebes) ซึ่งมาจากภาษาโปรตุเกส เป็นหนึ่งในเกาะซุนดาใหญ่ 4 เกาะของประเทศอินโดนีเซีย ชาวยุโรปพวกแรกที่เดินทางมายังเกาะแห่งนี้ คือ กะลาสีเรือชาวโปรตุเกส เมื่อ พ.ศ. 2055 และนับตั้งแต่ พ.ศ. 2212 เป็นต้นมา บริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ก็ได้ตั้งมั่นอยู่ที่มากัสซาร์ (Makassar) และเมื่อ พ.ศ. 2448 พื้นที่ทั้งเกาะกลายเป็นส่วนหนึ่งของนิคมชาวดัตช์อินเดียตะวันออก กระทั่งอินโดนีเซียประกาศเอกราช เมื่อ พ.ศ. 2498.

ใหม่!!: อักษรบาหลีและเกาะซูลาเวซี · ดูเพิ่มเติม »

เกาะนูซาเปอนีดา

กาะบาหลีและเกาะนูซาเปอนีดา เกาะนูซาเปอนีดา เป็นเกาะที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย มีเกาะขนาดเล็กอยู่ใกล้ ๆ คือ เกาะนูซาเลิมโบงัน และเกาะนูซาเจอนีงัน แยกจากเกาะบาหลีด้วยช่องแคบบาดุง ภายในเกาะเป็นเนินเขาที่มีระดับความสูงสูงสุด 524 เมตร อากาศแห้งกว่าเกาะบาหลี บนเกาะมีนกชุกชุมและเป็นแหล่งอนุรักษ์พันธุ์นกทั้งเกาะด้วยวิถีชุมชนแบบบาหลี นอกจากนั้น ยังเป็นแหล่งดำน้ำที่มีชื่อเสียงและมีพื้นที่สำหรับดำน้ำได้กว้าง ชาวเกาะนี้ส่วนใหญ่มีอาชีพประมง และเลี้ยงสาหร่ายทะเล ในอดีต เคยเป็นที่จองจำนักโทษของอาณาจักรคลุงคุงในบาหลี ชาวบาหลีเชื่อว่าเกาะนี้เป็นดินแดนแห่งเวทมนตร์และเป็นที่อยู่ของพ่อมดในตำนาน เจอโร เกอเด เมอจาลิง.

ใหม่!!: อักษรบาหลีและเกาะนูซาเปอนีดา · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Balinese script

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »