โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ไร้เดือน

ดัชนี ไร้เดือน

ลงพระราชนิพนธ์ ไร้เดือน หรือ ไร้จันทร์ หรือ เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๓๙ ทรงพระราชนิพนธ์ทำนองและคำร้องภาษาอังกฤษพร้อมกันใน..

5 ความสัมพันธ์: หม่อมหลวงมณีรัตน์ บุนนาคหม่อมหลวงประพันธ์ สนิทวงศ์อาจินต์ ปัญจพรรค์เพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชOgg

หม่อมหลวงมณีรัตน์ บุนนาค

ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค มีนามเดิมว่า หม่อมหลวงมณีรัตน์ สนิทวงศ์ ป.., ท..ว.,.ป.ร. 1 (23 มิถุนายน พ.ศ. 2465-23 เมษายน พ.ศ. 2543) เป็นน้องสาวร่วมบิดามารดาเพียงคนเดียวของหม่อมหลวงบัว กิติยากร พระชนนีในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ท่านมีผลงานที่สร้างชื่อเสียงมากมาย อาทิเช่น เป็นผู้ประพันธ์คำร้องภาษาไทยในเพลงพระราชนิพนธ์ ความฝันอันสูงสุด เพลินภูพิงค์ เกิดเป็นไทย ตายเพื่อไทย แผ่นดินของเรา เตือนใจ ไร้เดือน เกาะในฝัน มาร์ชราชนาวิกโยธิน หม่อมหลวงมณีรัตน์ สมรสกับนายสุรเทิน บุนนาค บุตรอำมาตย์ตรี พระพิศาลสุริยศักดิ์ (เทิน บุนนาค) และ นางผัน พิศาลสุริยศักดิ์ (สกุลเดิม สินธุสาร) มีบุตรชาย 2 คน คือ พลตรีกรีเมศร์ บุนนาค และพันโทสุรธัช บุนนาค หม่อมหลวงมณีรัตน์ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ จึงใช้คำนำหน้าท่านผู้หญิง.

ใหม่!!: ไร้เดือนและหม่อมหลวงมณีรัตน์ บุนนาค · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงประพันธ์ สนิทวงศ์

หม่อมหลวงประพันธ์ สนิทวงศ์ ท..ว.,ม.ว.ม.,ม.ป.. (29 เมษายน พ.ศ. 2462 - มีนาคม พ.ศ. 2546) เป็นผู้ประพันธ์คำร้องเพลงพระราชนิพนธ์ไร้เดือน เตือนใจ และเกาะในฝัน ร่วมกับท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค เป็นสมาชิกวงลายคราม และวง อ.ส. วันศุกร์ วงดนตรีแจ๊สส่วนพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช นอกจากนี้ท่านยังเป็นผู้ประพันธ์ทำนองเพลงที่มีชื่อเสียงมากมาย เช่น ลมหวน, หากรู้สักนิด เพลงประกอบละครบ้านทรายทอง, เพลงประจำมหาวิทยาลัยขอนแก่น, เพลงจุฬาแซมบ้า ฯลฯ หม่อมหลวงประพันธ์ สนิทวงศ์ เป็นผู้ที่สนใจดนตรีมาตั้งแต่เด็ก โดยเริ่มเรียนเปียโนแบบครูพักลักจำที่โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน และเริ่มเล่นเปียโนโดยเล่นเฉพาะโน้ตตัวดำก่อน (ebony key) เนื่องจากคิดว่ามีตัวโน้ตน้อยกว่าโน้ตตัวขาว หลังจากนั้นก็เริ่มเล่นเปียโนด้วยตนเองมาเรื่อยๆ และหัดอ่านและเขียนโน้ตเพลง จนเริ่มแต่งเพลงตอนอายุ 18 ปี ขณะเรียนอยู่ที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โดยแต่งร่วมกับหม่อมหลวงพวงร้อย อภัยวงศ์ และใช้นามในการแต่งเพลงร่วมว่า "ร้อยพัน".

ใหม่!!: ไร้เดือนและหม่อมหลวงประพันธ์ สนิทวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

อาจินต์ ปัญจพรรค์

"อาจินต์ ปัญจพรรค์" (11 ตุลาคม 2470 -) ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป..

ใหม่!!: ไร้เดือนและอาจินต์ ปัญจพรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

เพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ลงพระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชปรีชาญาณในเรื่องของดนตรี ทรงพระราชนิพนธ์ทำนองเพลงตั้งแต่ยังทรงเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช รวมบทเพลงพระราชนิพนธ์ทั้งสิ้น 48 เพลง เพลงที่ทรงพระราชนิพนธ์ทำนอง และคำร้องภาษาอังกฤษด้วยพระองค์เอง มี 5 เพลง คือ "Echo", "Still on My Mind", "Old-Fashioned Melody", "No Moon" และ "Dream Island" นอกจากนี้ มีเพลงที่ทรงพระราชนิพนธ์ทำนองขึ้นภายหลังใส่ในคำร้องที่มีผู้ประพันธ์ไว้แล้ว คือ ความฝันอันสูงสุด เราสู้ และ รัก ผู้ที่โปรดเกล้าฯ ให้แต่งคำร้องประกอบเพลงพระราชนิพนธ์มีหลายท่าน ได้แก่ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ จักรพันธุ์, ศาสตราจารย์ ท่านผู้หญิงนพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยา, ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร, ท่านผู้หญิงสมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา, นายจำนงราชกิจ (จรัล บุณยรัตพันธุ์), ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ม.ล.ประพันธ์สนิทวงศ์ และท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค เป็นต้น ในยุคแรก หลังจากที่เพลงพระราชนิพนธ์มีทำนองและคำร้องสมบูรณ์แล้ว จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ครูเอื้อ สุนทรสนาน นำไปบรรเลงในวงดนตรีกรมโฆษณาการหรือวงกรมประชาสัมพันธ์ เพื่อให้แพร่หลายทั่วไป และโดยพระองค์ท่านเองทรงดนตรีร่วมกับวงดนตรี วง อ.ส. วันศุกร์ ออกอากาศ ปรากฏว่าหลายเพลงกลายเป็นเพลงยอดนิยมทั้งในหมู่ชาวไทยและชาวต่างประเทศ ในระยะหลังพระองค์มีพระราชกรณียกิจมากมาย ทำให้พระองค์ทรงไม่มีเวลาที่จะทรงพระราชนิพนธ์เพลงใหม่ๆออกมา เพลงสุดท้ายที่พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์ออกมาคือเพลง "เมนูไข่" เป็นเพลงแนวสนุกสนาน เนื้อร้องโดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานเป็นของขวัญวันพระราชสมภพครบ 72 พรรษาแด่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เมื่อ..

ใหม่!!: ไร้เดือนและเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

Ogg

ogg ("อ็อก") เป็นรูปแบบหีบห่อดิจิทัลแบบมาตรฐานเปิดสำหรับบรรจุสื่อผสม มันถูกออกแบบมาเพื่อประสิทธิภาพในการกระจายเสียง (สตรีมมิง) และการเปลี่ยนแปร รูปแบบ ogg ออกแบบโดยมูลนิธิ Xiph.Org และปลอดจากสิทธิบัตรซอฟต์แวร์ คำว่า "ogg" ยังถูกใช้บ่อย ๆ เพื่อเรียกรูปแบบแฟ้มเสียง Ogg Vorbis ซึ่งเป็นเสียงที่ถูกเข้ารหัสแบบ Vorbis แล้วเก็บลงในหีบห่อ Ogg การเข้ารหัสอื่นที่เด่น ๆ ของ Xiph ที่มักถูกใส่ใน Ogg ก็คือ Theora ซึ่งเป็นการเข้ารหัสภาพเคลื่อนไหว (วิดีโอ), และ Speex ซึ่งเป็นการบีบอัดเสียงพูดของมนุษย์ MIME type ของ ogg คือ application/ogg.

ใหม่!!: ไร้เดือนและOgg · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

No Moonไร้จันทร์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »