โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ไมล์ทะเล

ดัชนี ไมล์ทะเล

ไมล์ทะเล (nautical mile) เป็นหน่วยของระยะทาง ที่เท่ากับระยะทางบนผิวโลก ประมาณ 1 ลิปดา บนเส้นเส้นเมริเดียนใด ๆ โดยเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป ว่า 1 ไมล์ทะเล เท่ากับ 1852 เมตร (หรือประมาณ 6076.12 ฟุต) หน่วยนี้ไม่ได้เป็นหน่วยเอสไอ แต่ใช้กันทั่วไปในวงการเดินเรือและอุตสาหกรรมการบิน และยังใช้เป็นหน่วยที่ใช้กับการกำหนดเขตแดนน่านน้ำในสนธิสัญญา และกฎหมายระหว่างประเทศอีกด้วย หมวดหมู่:หน่วยความยาว.

11 ความสัมพันธ์: ฟุตกฎหมายระหว่างประเทศการบินการเดินเรือระบบการวัดระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศระยะทางลิปดาโลกเมตรเส้นเมริเดียน

ฟุต

ฟุต (foot; พหูพจน์: feet; ย่อว่า ft หรือ ′ (ไพรม์)) เป็นหน่วยวัดความยาวในระบบอังกฤษ นิยามโดยให้มีขนาดเท่ากับ 0.3048 เมตรพอดี และแบ่งเป็นหน่วยย่อย 12 นิ้ว.

ใหม่!!: ไมล์ทะเลและฟุต · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมายระหว่างประเทศ

กฎหมายระหว่างประเทศ (International law) หมายถึง กฎ กฎเกณฑ์ และข้อตกลงที่เกิดขึ้นจากความตกลง หรือการแสดงเจตนาเข้าผูกพันของรัฐตั้งแต่สองรัฐขึ้นไป และมักใช้เป็นหลักในการพิจารณาข้อพิพาทระหว่างประเท.

ใหม่!!: ไมล์ทะเลและกฎหมายระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

การบิน

นกฮัมมิงเบิร์ด ขณะบิน การบิน (Flight) คือกระบวนการที่วัตถุชนิดหนึ่งเคลื่อนที่ผ่านบรรยากาศ (โดยเฉพาะอากาศ) หรือเหนือบรรยากาศ (เช่น การเดินทางด้วยยานอวกาศ) โดยแรงยกอากาศพลศาสตร์ แรงขับเคลื่อนด้วยอากาศ โดยใช้แรงลอยตัวที่เบากว่าอากาศ หรือด้วยการเคลื่อนไหวอย่างขีปนาวุธ โดยไม่ต้องใช้การสนับสนุนโดยตรงจากพื้นผิวใด ๆ หลายสิ่งหลายอย่างสามารถบินได้ ตั้งแต่สิ่งบินได้โดยธรรมชาติ เช่น นก ค้างคาว และแมลง ไปจนถึงสิ่งประดิษฐ์โดยมนุษย์ เช่น ขีปนาวุธ อากาศยาน เช่น เครื่องบิน เฮลิคอปเตอร์ และบอลลูน ไปจนถึงจรวดชนิดต่าง ๆ เช่น ยานอวกาศ การบินในมุมมองด้านวิศวกรรมมีศึกษาในวิชาวิศวกรรมการบินและอวกาศ ซึ่งแบ่งได้เป็น วิศวกรรมอากาศ วิชาที่ศึกษายานพาหนะที่เดินทางทางอากาศ และวิศวกรรมอวกาศ วิชาที่ศึกษายานพาหนะที่เดินทางทางอวกาศ และในวิชาบัลลิสติกส์ วิชาที่ศึกษาการบินในแบบโปรเจกไทล์ หมวดหมู่:อากาศพลศาสตร์.

ใหม่!!: ไมล์ทะเลและการบิน · ดูเพิ่มเติม »

การเดินเรือ

การเดินเรือ ถือเป็นศาสตร์แขนงหนึ่งที่ไม่เป็นที่แพร่หลาย จะมีเฉพาะในกลุ่มของชาวเรือและมีองค์กรหรือบุคคลที่สนใจจริงๆเท่านั้น และถ้าจะบอกว่าการเดินเรือเป็นการเรียนรู้ที่ไม่มีที่สิ้นสุด ก็คงจะไม่เกินเลยจากความเป็นจริง เพราะการเดินเรือถือเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ นักเดินเรือที่ดีจะต้องมีทั้ง 2 อย่างที่ว่านี้ ในประเทศไทยสถาบันซึ่งถือว่าเป็นสถาบันหลักในการผลิตนักเดินเรือทั้งผู้ที่เป็นผู้นำเรือรบทางทหารและผู้นำเรือสินค้า(พาณิชย์) อีกทั้งยังเป็นแหล่งรวบรวมความรู้เกี่ยวกับการเดินเรือและยังเป็นสถานที่สำหรับฝึกฝนอบรมเพิ่มความรู้และทักษะต่างๆ เพื่อให้ผู้เข้ารับการศึกษามีลักษณะความเป็นชาวเรือ คือ - โรงเรียนนายเรือ - ศูนย์ฝึกพาณิชย์นาวี() - คณะโลจิสติกส์ สาขาวิทยาการเดินเรือ มหาวิทยาลัยบูรพา (http://bmc.buu.ac.th/index.php) - วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา - คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ใหม่!!: ไมล์ทะเลและการเดินเรือ · ดูเพิ่มเติม »

ระบบการวัด

ระบบการวัด (อังกฤษ: systems of measurement) คือกลุ่มของหน่วยวัดที่สามารถใช้ระบุสิ่งใด ๆ ซึ่งสามารถวัดได้ และมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ มีการวางระเบียบและนิยามเพื่อการค้าและการพาณิชย์ ในทางวิทยาศาสตร์ ปริมาณบางชนิดที่ได้วิเคราะห์แล้วถูกกำหนดขึ้นให้เป็นหน่วยมูลฐาน ซึ่งหมายความว่าหน่วยอื่น ๆ ที่จำเป็นสามารถพัฒนาได้จากหน่วยมูลฐานเหล่านี้ ในขณะที่ยุคก่อนหน้า หน่วยวัดต่าง ๆ ถูกกำหนดขึ้นโดยคำสั่งจากการวินิจฉัยสิ่งเหล่านั้น (ดูเพิ่มที่กฎหมายลายลักษณ์อักษร) และไม่จำเป็นว่าจะต้องเกี่ยวข้องกับการใช้งานทางสากลหรือความสอดคล้องในหน่วยตัวเอง ระบบการวัดสำหรับประเทศไทยในปัจจุบัน ใช้ตาม พระราชบัญญัติมาตราชั่งตวงวัด (ฉบับที่ ๒)..

ใหม่!!: ไมล์ทะเลและระบบการวัด · ดูเพิ่มเติม »

ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ

ลบีเรีย, พม่า และ สหรัฐอเมริกา ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ หรือ ระบบเอสไอ (International System of Units; Système international d'unités: SI.) เป็นระบบการวัดที่ปรับปรุงมาจากระบบเมตริก โดยเน้นการสร้างมาจากหน่วยฐานทั้งเจ็ดหน่วยและใช้ระบบเลขฐานสิบ ซึ่งถือว่าเป็นระบบการวัดที่ใช้แพร่หลายที่สุดในโลกทั้งในชีวิตประจำวันและทางวิทยาศาสตร์ ระบบเมตริกแต่เดิมนั้นแบ่งออกเป็นหลายกลุ่ม โดยระบบเอสไอได้รับการพัฒนามาจากระบบหน่วยเมตร-กิโลกรัม-วินาที (meter-kilogram-second: MKS) ในปี 1960 และได้ปรับเปลี่ยนนิยามรวมถึงเพิ่มลดหน่วยฐานเอสไอมาตลอดตามการพัฒนาเทคโนโลยีทางด้านการวัด เพื่อเพิ่มความเที่ยงตรงในการวัดมากขึ้น ระบบเอสไอเป็นระบบที่ใช้กันเกือบทั้งโลก มีเพียงสามประเทศที่ยังไม่ใช้หน่วยเอสไอเป็นมาตรฐานของหน่วยวัด ได้แก่ ไลบีเรีย พม่า และ สหรัฐอเมริกา แม้ในอังกฤษเองได้ยอมรับให้ใช้ระบบเอสไออย่างเป็นทางการ แม้ว่าจะไม่สามารถทดแทนระบบดั้งเดิมได้ทั้งหม.

ใหม่!!: ไมล์ทะเลและระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ระยะทาง

ลยืนอยู่ในระยะทางต่างๆ กัน ระยะทาง หมายถึงตัวเลขที่อธิบายว่า วัตถุแต่ละอย่างอยู่ห่างกันเท่าไรในช่วงเวลาหนึ่ง ในทางฟิสิกส์ ระยะทางอาจหมายถึงความยาวทางกายภาพ ระยะเวลา หรือการประมาณค่าบนสิ่งที่พิจารณาสองอย่าง ส่วนทางคณิตศาสตร์จะพิจารณาอย่างเฉพาะเจาะจงมากกว่า โดยทั่วไปแล้ว "ระยะทางจาก A ไป B" มีความหมายเหมือนกับ "ระยะทางระหว่าง A กับ B".

ใหม่!!: ไมล์ทะเลและระยะทาง · ดูเพิ่มเติม »

ลิปดา

ลิปดา (minute of arc, arcminute หรือ MOA) เป็นหน่วยหนึ่งในการวัดมุม มีค่าเท่ากับ ของหนึ่งองศา เนื่องจากหนึ่งองศาเท่ากับ ของวงกลม ดังนั้น 1 ลิปดาจึงเท่ากับ ของวงกลม หน่วยวัดขนาดเล็กเช่นนี้มักใช้ในการวัดค่าที่ละเอียดมากๆ เช่นในวิชาดาราศาสตร์หรือการกำหนดพิกัดการยิงอาวุธ ส่วน พิลิปดา (second of arc, arcsecond) (บ้างก็เขียนว่า วิลิปดา) เป็นหน่วยที่มีขนาดเป็น ของหนึ่งลิปดาอีกต่อหนึ่ง หรือเท่ากับ องศา หรือเท่ากับ ของวงกลม ลิปดาและพิลิปดาเป็นคำไทย การเขียน "ฟิลิปดา" ไม่ถูกต้องและมาจากความเข้าใจที่ผิดว่าคำนี้มาจากภาษาต่างประเทศ ตารางแสดงสัดส่วนและความสัมพันธ์ระหว่าง องศา ลิปดา พิลิปดา และมิลลิพิลิปดา แสดงได้ดังนี้.

ใหม่!!: ไมล์ทะเลและลิปดา · ดูเพิ่มเติม »

โลก

"เดอะบลูมาร์เบิล" ภาพถ่ายดาวเคราะห์โลกจากยาน ''อพอลโล 17'' โลก (loka; world) มีความหมายโดยปริยายหมายถึงหมู่มนุษย์ รวมทั้งอารยธรรมมนุษย์โดยรวมทั้งหมด โดยเฉพาะในด้านประสบการณ์ ประวัติศาสตร์ หรือสภาพของมนุษย์โดยทั่ว ๆ ไป ทั้งนี้ คำว่า ทั่วโลก หมายถึงสถานที่ใด ๆ บนดาวเคราะห์โลก ในทางปรัชญามองโลกอยู่ 2 แบบ คือ.

ใหม่!!: ไมล์ทะเลและโลก · ดูเพิ่มเติม »

เมตร

มตร อักษรย่อ ม. (mètre → metre meter The Metric Conversion Act of 1975 gives the Secretary of Commerce of the US the responsibility of interpreting or modifying the SI for use in the US., m) เป็นหน่วยฐานเอสไอของความยาวในหน่วยเอสไอ แต่เดิมนิยามว่าหนึ่งเมตรเท่ากับ 1/10,000,000 ของระยะทางจากเส้นศูนย์สูตรของโลกไปยังขั้วโลกเหนือวัดจากเส้นรอบวงที่ผ่านเมืองปารีส แต่เนื่องจากความแม่นยำทางมาตรวิทยา ที่มีมากขึ้น ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2526 ความยาวหนึ่งเมตรจึงถูกนิยามไว้ให้เท่ากับความยาวที่แสงเดินทางได้ในสุญญากาศ ในช่วงเวลา วินาที.

ใหม่!!: ไมล์ทะเลและเมตร · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียน

เส้นเมริเดียน (meridian, line of longitude) เป็นเส้นสมมติที่ลากจากขั้วโลกเหนือไปยังขั้วโลกใต้ สร้างขึ้นจากการสมมติเส้นเมริเดียนปฐม มีค่ามุม 100 องศา ลากผ่านตำบลกรีนิซ กรุงลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร ไปทางทิศตะวันออกและทิศตะวันตก ด้านละ 180 องศา โดยเส้นเมริเดียนที่ 180 องศาตะวันออกและ 180 องศาตะวันตก จะทับกันเป็นเส้นเดียวนี้ให้เป็นเส้นวันที่หรือเส้นแบ่งเขตวันระหว่างชาติ หรือเส้นแบ่งเขตวันสากล เส้นเมริเดียนแรก หรือ เส้นเมริเดียนปฐม (Prime Meridian) คือเส้นเมริเดียนที่ลากไม่ผ่านหอดูดาวแห่งหนึ่ง ตำบล กรีนิช ใกล้กรุงลอนดอนในประเทศอังกฤษทั้งนี้เพื่อใช้เป็นหลักอ้างอิงในการนับเส้นเม ริเดียนอื่น ๆ ต่อไป เส้นเมริเดียนรอบโลก มี 360 เส้น แบ่งเป็นเส้นองศา ตะวันออก 180 เส้น และเส้นองศาตะวันตก 180 เส้น ความสำคัญของเส้นเมริเดียน คือ บอกพิกัดของตำแหน่งที่ตั้งต่าง ๆ บนพื้นผิวโลกโดยใช้ร่วมกันเส้นขนาน (เส้นละติจูด) และใช้เป็นแนวแบ่งเขตเวลาของโลก หมวดหมู่:เส้นลองจิจูด.

ใหม่!!: ไมล์ทะเลและเส้นเมริเดียน · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »