โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล

ดัชนี โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล

รงเรียนอุดรพิทยานุกูล (อังกฤษ: Udon Pittayanukoon School) เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดอุดรธานี ประเภทสหศึกษา ระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ถนนศรีสุข ตรงข้ามสำนักงานปศุสัตว์จังหวัดอุดรธานี บนถนนเส้นเดียวกับโรงเรียนอนุบาลอุดรธานี โรงเรียนสตรีราชินูทิศ และโรงเรียนบ้านหมากแข้ง ด้านหลังติดกับถนนศรีชมชื่น ในปัจจุบันโรงเรียนอุดรพิทยานุกูลนั้นเป็นโรงเรียนที่มีจำนวนนักเรียนมากที่สุดเป็นอันดับที่ 1 ของประเทศ และเป็นโรงเรียนชั้นนำแห่งหนึ่งของภาคอีสานและของประเทศไทย โดยมีชื่อเรียกอย่างย่อว่า อุดรพิท.

46 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2444พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยพระวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคมพิพัฒน์ ต้นกันยาพงศ์ทิวัตถ์ ตั้งวันเจริญกระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)กายวิภาคศาสตร์กิตติ เชี่ยววงศ์กุลภาษาญี่ปุ่นภาษาอังกฤษภาษาจีนกลางภาษาไทยภาษาเวียดนามภุชงค์ นุตราวงศ์มัธยมศึกษามนตรี เจนอักษรระดับดาว ศรีระวงศ์รายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษวัดมัชฌิมาวาส จังหวัดอุดรธานีวิสุทธ์ บุษยกุลสมคิด ศรีสังคมสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทยสโมสรฟุตบอลการท่าเรือสโมสรฟุตบอลจังหวัดภูเก็ตสโมสรกีฬาราชประชาหม่อมหลวงมานิจ ชุมสายหลวงปู่ขาว อนาลโยอาณัตพล ศิริชุมแสงผู้อำนวยการจังหวัดอุดรธานีจารุบุตร เรืองสุวรรณธง แจ่มศรีทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 2ณรงค์เดช นันทโพธิ์เดชประเสริฐ โศภนประเทศอังกฤษปราโมทย์ นาครทรรพแสวง พิบูลย์สราวุธโกสินทร์ ราชกรมโรงเรียนสตรีราชินูทิศเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาวเดียร์น่า ฟลีโปเตียง ศิริขันธ์21 กันยายน

พ.ศ. 2444

ทธศักราช 2444 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1901 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและพ.ศ. 2444 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย

รรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) (Communist Party of Thailand - CPT) เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย ไม่เคยจดทะเบียนจัดตั้งตามกฎหมายอย่างเป็นทางการ ดำเนินแนวทางตาม ลัทธิมาร์กซ์ ลัทธิเลนิน และลัทธิเหมา นอกจากนั้น ในอดีตยังมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ซึ่งเป็นสมาชิกของ พคท.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนา

ันเอก มหาอำมาตย์ตรี พระวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนา (ประสูติในรัชกาลที่ 3 เมื่อปีวอก พ.ศ. 2391 - วันที่ 9 กันยายน ปีมะเมีย พ.ศ. 2461) เป็นพระโอรสพระองค์ใหญ่ในพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารองทรง กรมหมื่นสิทธิสุขุมการ เดิมทรงพระยศเป็นหม่อมเจ้า และได้รับสถาปนาเป็นพระองค์เจ้าเมื่อเสด็จไปเป็นเทศาภิบาล ณ มณฑลอุดร.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและพระวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม

นายพลตรี นายพลเรือเอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม · ดูเพิ่มเติม »

พิพัฒน์ ต้นกันยา

ัฒน์ ต้นกันยา เป็นอดีตนักฟุตบอลทีมชาติไทย ปัจจุบันเล่นให้กับสโมสรอุดรธานี เอฟซี ในระดับไทยลีก ดิวิชั่น 2 โดยพิพัฒน์ เคยได้รับรางวัลดาวซัลโวไทยพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2549 สมัยที่เล่นให้กับบีอีซี เทโรศาสน และสามารถคว้าแชมป์ไทยพรีเมียร์ลีกได้กับสโมสรการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ในฤดูกาล 2551 อีกทั้งยังเคยคว้าแชมป์ไทยคม เอฟเอคัพ 2552 ได้กับสโมสรฟุตบอลการท่าเรือไทย และคว้าแชมป์ไทยลีก ดิวิชั่น 2 ได้กับอุดรธานี เอฟซีในฤดูกาล 2559.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและพิพัฒน์ ต้นกันยา · ดูเพิ่มเติม »

พงศ์ทิวัตถ์ ตั้งวันเจริญ

งศ์ทิวัตถ์ ตั้งวันเจริญ (ชื่อเดิม พงศธร ตังวันเจริญ) ชื่อเล่น:บลู เป็นนักแสดงชายชาวไทย จบการศึกษาระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษา ที่โรงเรียนดอนบอสโกวิทยา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายปีที่4 ที่โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล ปัจจุบันกำลังศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่ โรงเรียนอัสสัมชัญบางรัก ปัจจุบัน บลู ได้เซ็นสัญญาเป็นนักแสดงของค่าย เวฟ ทีวี จำกั.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและพงศ์ทิวัตถ์ ตั้งวันเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)

กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ส่งเสริมการศึกษาให้กับประชาชนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม สร้างความเสมอภาคและโอกาสทางการศึกษา ส่งเสริมให้หน่วยงานต่าง ๆ ได้มีส่วนร่วมทางการศึกษา ส่งเสริมการศึกษาวิชาชีพ ให้เอกชนมีส่วนร่วมในการศึกษา เน้นให้นิสิตนักศึกษามีโอกาสศึกษาต่อสูงขึ้นทั้งในท้องถิ่นและสถาบันเปิด เน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้บริการแก่สังคม พัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษให้ได้เรียนและแสดงออกในทางที่เหมาะสม.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและกระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กายวิภาคศาสตร์

หัวใจและปอดของมนุษย์ ภาพจากหนังสือ ''Gray's Anatomy'' กายวิภาคศาสตร์ (anatomia, มาจาก ἀνατέμνειν ana: การแยก และ temnein: การตัดเปิด) เป็นแขนงหนึ่งของวิชาชีววิทยา ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างของสิ่งมีชีวิต คำนี้หมายรวมถึงกายวิภาคศาสตร์มนุษย์ (human anatomy), กายวิภาคศาสตร์สัตว์ (animal anatomy หรือ zootomy) และกายวิภาคศาสตร์พืช (plant anatomy หรือ phytotomy) ในบางแง่มุมกายวิภาคศาสตร์ก็มีความเกี่ยวข้องอย่างลึกซึ้งกับวิชาคัพภวิทยา (embryology), กายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบ (comparative anatomy) และคัพภวิทยาเปรียบเทียบ (phylogenetics หรือ comparative embryology) โดยมีรากฐานเดียวกันคือวิวัฒนาการ (evolution) กายวิภาคศาสตร์สามารถแบ่งออกได้เป็นมหกายวิภาคศาสตร์ (gross anatomy หรือ macroscopic anatomy) และจุลกายวิภาคศาสตร์ (microscopic anatomy) มหกายวิภาคศาสตร์ เป็นการศึกษาโครงสร้างทางกายวิภาคที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า จุลกายวิภาคศาสตร์เป็นการศึกษาโครงสร้างทางกายวิภาคขนาดเล็กซึ่งต้องอาศัยกล้องจุลทรรศน์ ได้แก่ มิญชวิทยา (histology) ซึ่งเป็นการศึกษาโครงสร้างของเนื้อเยื่อ และวิทยาเซลล์ (cytology) ซึ่งเป็นการศึกษาเซลล์ กายวิภาคศาสตร์มีประวัติศาสตร์เป็นเวลายาวนาน มีการพัฒนาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหน้าที่ของอวัยวะและโครงสร้างต่างๆ ของร่างกายอย่างต่อเนื่อง เช่นเดียวกันกับวิธีการศึกษาที่พัฒนาอย่างรวดเร็วตั้งแต่การศึกษาจากสัตว์ไปจนถึงการชำแหละ (dissect) ศพมนุษย์ จนกระทั่งพัฒนาเทคนิคที่อาศัยเทคโนโลยีที่ซับซ้อนในศตวรรษที่ 20 วิชากายวิภาคศาสตร์นั้นต่างจากพยาธิกายวิภาค (anatomical pathology หรือ morbid anatomy) หรือจุลพยาธิวิทยา (histopathology) ซึ่งเป็นการศึกษาลักษณะทางมหภาคและจุลภาคของอวัยวะที่เป็นโร.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและกายวิภาคศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

กิตติ เชี่ยววงศ์กุล

กิตติ เชี่ยววงศ์กุล (เกิดเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2522) เป็นนักแสดง, นักเขียนบท และ ผู้กำกับละครจำนวนมากเช่น เฮง เฮง เฮง, บ้านนี้มีรัก, ยีนเด่น, บางรักซอย 9, เป็นต่อ, ผู้กองเจ้าเสน่ห์ กิตติมีชื่อเสียงจากบทบาท "วอก" ในซิทคอมเรื่อง เป็นต่อ เกลือสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยกรุงเทพ คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาศิลปะการแสดง.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและกิตติ เชี่ยววงศ์กุล · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาญี่ปุ่น

ษาญี่ปุ่น (日本語) เป็นภาษาทางการของประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันมีผู้ใช้ทั่วโลกราว 130 ล้านคน นอกเหนือจากประเทศญี่ปุ่นแล้ว รัฐอังกาอูร์ สาธารณรัฐปาเลา ได้กำหนดให้ภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาทางการภาษาหนึ่ง นอกจากนี้ภาษาญี่ปุ่นยังถูกใช้ในหมู่ชาวญี่ปุ่นที่ย้ายไปอยู่นอกประเทศ นักวิจัยญี่ปุ่น และนักธุรกิจต่างๆ คำภาษาญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลมาจากภาษาต่างประเทศเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะภาษาจีน ที่ได้นำมาเผยแพร่มาในประเทศญี่ปุ่นเมื่อกว่า 1,500 ปีที่แล้ว และตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา ก็ได้มีการยืมคำจากภาษาต่างประเทศที่ไม่ใช่ภาษาจีนมาใช้อีกเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เช่นคำที่มาจากภาษาดัตช์ ビール (bier แปลว่า เบียร์) และ コーヒー (koffie แปลว่า กาแฟ).

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและภาษาญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจีนกลาง

ษาจีนกลาง (จีนตัวเต็ม: 官話, จีนตัวย่อ: 官话, พินอิน: Guānhuà, ภาษาอังกฤษ: Mandarin) เป็นภาษาหลักของภาษาจีนและเป็น 1 ใน 6 ของภาษาราชการของสหประชาชาติ ในปัจจุบันมีผู้ใช้มากกว่า 800 ล้านคนทั่วโลก.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและภาษาจีนกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทย

ษาไทย เป็นภาษาราชการของประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเวียดนาม

ษาเวียดนาม (tiếng Việt เตี๊ยงเหฺวียด, tiếng Việt Nam, Việt ngữ) เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์และเป็นภาษาทางการของประเทศเวียดนาม เป็นภาษาแม่ของประชากรเวียดนามถึงร้อยละ 87 รวมถึงผู้อพยพจากเวียดนามประมาณ 2 ล้านคน และรวมถึงชาวเวียดนาม-อเมริกันเป็นจำนวนพอสมควรด้วย ถึงแม้ว่าจะมีการยืมคำศัพท์จากภาษาจีนและเดิมใช้อักษรจีนเขียน แต่นักภาษาศาสตร์ยังคงจัดภาษาเวียดนามให้เป็นภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติกซึ่งในกลุ่มนี้ภาษาเวียดนามมีผู้พูดมากที่สุด (10 เท่าของภาษาที่มีจำนวนคนพูดเป็นอันดับรองลงมา คือ ภาษาเขมร) ในด้านระบบการเขียนของภาษาเวียดนามนั้น แต่เดิมใช้ตัวเขียนจีน เรียกว่า "จื๋อญอ" ต่อมาชาวเวียดนามได้พัฒนาตัวเขียนจีนเพื่อใช้เขียนภาษาเวียดนาม เรียกว่า "จื๋อโนม" แต่ในปัจจุบันเวียดนามใช้ตัวอักษรโรมันที่พัฒนาขึ้นโดยมิชชันนารีชาวฝรั่งเศส โดยเครื่องหมายเสริมสัทอักษรใช้เป็นวรรณยุกต.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและภาษาเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ภุชงค์ นุตราวงศ์

งค์ นุตราวงศ์ อดีตเลขาธิการคณะกรรมการการเลือกตั้ง(กกต.) และอดีตรองเลขาธิการคณะกรรมการการเลือกตั้ง ด้านกิจการการมีส่วนร่วม (พ.ศ. 2553) และมีคู่สมรสคือ พรวรินทร์ นุตราวง.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและภุชงค์ นุตราวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

มัธยมศึกษา

มัธยมศึกษา (ย่อว่า ม; secondary education) เป็นลำดับการศึกษา ขั้นที่ 3 รองจากระดับ ประถมศึกษา โดยการศึกษาในขั้นนี้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ทางด้านวิชาการและวิชาชีพให้เหมาะสมกับวัย ความต้องการ ความสนใจ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจและรู้จักเลือกอาชีพที่เป็นประโยชน์แก่ตนเองและสังคม การศึกษาระดับนี้ใช้เวลาเรียนสามปี โดยผู้เรียนจะมีอายุระหว่าง 12 - 17 โดยผู้เรียนจบในระดับมัธยมศึกษานี้สามารถไปประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับวัยและความสามารถ หรือศึกษาต่อในระดับ อุดมศึกษา ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ผู้เรียนเลือกเรียนกลุ่มวิชาการหรือวิชาชีพตามความถนัดของตนเอง ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายผุ้เรียนสามารถเรียนกลุ่มวิชาที่ผู้เรียนชื่นชอบเพื่อยึดเป็นอาชีพได้.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและมัธยมศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

มนตรี เจนอักษร

มนตรี เจนอักษร (19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498 —) นักแสดง นักพากย์ และพิธีกรรายการโทรทัศน์ เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 จากบทอาโยะ ชาวเขาในภาพยนตร์เรื่อง คนภูเขา กำกับโดย วิจิตร คุณาวุฒิ ซึ่งได้รับรางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม นอกจากนี้ ยังได้รับรางวัลผู้ใช้ภาษาไทยดีเด่น ในงานวันภาษาไทยแห่งชาติ เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 และ ผู้ใช้ภาษาไทยดีเด่น รางวัล ราชบัณฑิตยสถานสรรเสริญ..

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและมนตรี เจนอักษร · ดูเพิ่มเติม »

ระดับดาว ศรีระวงศ์

ระดับดาว ศรีระวงศ์ (เกิด 20 ธันวาคม พ.ศ. 2542) ชื่อเล่น มาตัง เป็นนักร้องชาวไทย ผู้ชนะจากการแข่งขันในรายการ เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 11 โดยเป็นผู้เข้าประกวดหญิงคนที่ 2 ที่ได้รับรางวัลชนะเลิศต่อจาก วิชญาณี เปียกลิ่น และเป็นผู้เข้าประกวดคนแรกที่ได้รับรางวัลชนะเลิศที่อายุน้อยที่สุดด้วยวัยเพียง 15 ปี 127 วัน และเป็นผู้เข้าแข่งขันเดอะสตาร์ที่ได้คะแนนรวมจากร้อยเสียงในห้องส่งมากที่สุดในประวัติศาสตร์การแข่งขัน เธอจบระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 จาก โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล และศึกษาต่อในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร นอกจากนี้มาตังยังเคยเข้าร่วมประกวดร้องเพลงในรายการ เดอะวอยซ์ คิดส์ ไทยแลนด์ ซีซั่นที่ 2 ในรอบ Blind Auditions และผ่านเข้ามาถึงรอบ Battle Rounds แต่ท้ายที่สุดถูกคัดออก.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและระดับดาว ศรีระวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ

รงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ คือขนาดโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐที่กำหนดขึ้นโดยกรมสามัญศึกษาเดิม (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.) โดยกำหนดโรงเรียนมัธยมศึกษาที่มีจำนวนนักเรียนมากกว่า 2,501 คนขึ้นไป ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ปริมณฑลและโรงเรียนประจำจังหวัด ทั้งนี้ ไม่รวมโรงเรียนในสังกัดอื่น ๆ เช่น สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (โรงเรียนเทศบาล), สังกัดมหาวิทยาลัย (โรงเรียนสาธิต), โรงเรียนเอกชน เป็นต้น ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษแบ่งตามภาค ตามจำนวนนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษา ไม่นับ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ จังหวัดนครปฐม โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย จังหวัดลพบุรี โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ จังหวัดพิษณุโลก โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดสกลนคร ซึ่งมีเฉพาะนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปล.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและรายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

วัดมัชฌิมาวาส จังหวัดอุดรธานี

วัดมัชฌิมาวาส เดิมชื่อ วัดโนนหมากแข้ง โดยได้รับพระราชทานบรมราชานุญาตสถาปนาเป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2507.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและวัดมัชฌิมาวาส จังหวัดอุดรธานี · ดูเพิ่มเติม »

วิสุทธ์ บุษยกุล

ตราจารย์วิสุทธิ์ บุษยกุล ศาสตราจารย์วิสุทธิ์ บุษยกุล (เกิด: 8 พฤศจิกายน 2462, จังหวัดอุดรธานี; อนิจกรรม: 21 มกราคม 2554, กรุงเทพมหานคร) บิดาเป็นชาวจังหวัดอุดรธานี มารดาเป็นชาวสมุทรสงคราม เนื่องจากบิดารับราชการในแผนกคลังจังหวัด เด็กชายวิสุทธิ์จึงต้องติดตามบิดาไปอยู่จังหวัดนครพนมตั้แต่อายุประมาณ 2-3ขวบ และได้เริ่มเรียนหนังสือที่โรงเรียนสกลราชวิทยานุกูล สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จึงได้ย้ายไปศึกษาต่อที่ โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและวิสุทธ์ บุษยกุล · ดูเพิ่มเติม »

สมคิด ศรีสังคม

ันเอก สมคิด ศรีสังคม (1 สิงหาคม พ.ศ. 2460 – 3 ตุลาคม พ.ศ. 2560) คือ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดอุดรธานี และอดีตประธานโครงการรณรงค์เพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญให้เป็นประชาธิปไตย (ครป.).

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและสมคิด ศรีสังคม · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (Office of the Basic Education Commission: OBEC) เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีหน้าที่รับผิดชอบการจัดการศึกษาในระดับพื้นฐานตั้งแต่ระดับปฐมวัย จนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยแบ่งออกเป็น 3 ช่วงชั้น.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

ันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (The Thailand Development Research Institute) หรือ ทีดีอาร์ไอ (TDRI) เป็นมูลนิธิที่ไม่แสวงหากำไร ที่ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2527 ที่มีพันธกิจหลักคือ การทำการวิจัยเชิงนโยบายสาธารณะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งนโยบายด้านเศรษฐกิจ กฎหมาย สาธารณสุข และโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อเผยแพร่ต่อภาครัฐบาล ภาคเอกชน และภาคประชาชน เพื่อการกำหนดนโยบายระยะยาวอันมีผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ทีดีอาร์ไอถูกก่อตั้งขึ้นโดยความริเริ่มของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ที่ต้องการให้มีหน่วยงานวิจัยและเสนอนโยบายเป็นอิสระของอำนาจการเมืองและข้าราชการ ด้วยเหตุนี้ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรีไทยในขณะนั้น และ ปิแอร์ ทรูโด นายกรัฐมนตรีแคนาดา จึงได้ลงนามในข้อตกลงให้ความช่วยเหลือเพื่อมอบทุนดำเนินการจัดตั้งสถาบันในระยะเริ่มแรก ผ่านทาง องค์กรเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศแห่งแคนาดา (Canadian International Development Agency) นอกจากนี้ ยังมี องค์กรเพื่อการพัฒนานานาชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา (United States Agency for International Development) ร่วมให้ทุนสนับสนุนการก่อตั้ง เช่นเดียวกับบริษัทเอกชนอื่นๆ เช่น บริษัทในกลุ่มมิตซุย บริษัทยูโนแคล ประเทศไทย เป็นต้น นับตั้งแต่ก่อตั้ง สถาบันได้ดำเนินงานวิจัยไปแล้วมากกว่า 800 โครงการ ในหัวข้อต่าง ๆ ทั้งระดับประเทศ ทั้งประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน ระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติ โดยมีเป็นหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานต่างประเทศเป็นผู้ว่าจ้างหลัก นอกเหนือจากรายได้จากการถูกว่าจ้างจากหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานต่างประเทศแล้ว ทีดีอาร์ไอยังใช้งบประมาณของตนเองในการผลิตงานวิจัยเชิงนโยบายในหัวข้อที่กำหนดเอง โดยเน้นหัวข้อที่ทีดีอาร์ไอคิดว่าสำคัญต่อการพัฒนาประเทศในอนาคต เช่น การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน การพัฒนาระบบศึกษาไทย และโมเดลใหม่ทางเศรษฐกิจ เป็นต้น ปัจจุบัน ทีดีอาร์ไอมีทรัพยากรบุคคลประมาณ 100 คน ในฝ่ายการวิจัย 6 ฝ่าย ได้แก.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลการท่าเรือ

มสรฟุตบอลการท่าเรือ (Port F.C.) เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศไทย โดยได้เข้ามาร่วมเล่นใน ไทยลีก ครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและสโมสรฟุตบอลการท่าเรือ · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลจังหวัดภูเก็ต

มสรฟุตบอลจังหวัดภูเก็ต เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพในประเทศไทยโดยเป็นทีมจากจังหวัดภูเก็ต ปัจจุบันเล่นใน ลีกภูมิภาค ดิวิชั่น 2 และเป็นสโมสรแรกของโลกที่มีการประกาศให้ใช้งานตราสัญลักษณ์สโมสรในทุกกรณีภายใต้อนุญาตของฝ่ายกฎหมายสโมสรเท่านั้น.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและสโมสรฟุตบอลจังหวัดภูเก็ต · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรกีฬาราชประชา

มสรกีฬาราชประชา เป็นสโมสรฟุตบอล ในประเทศไทย มีสำนักงานตั้งอยู่ที่แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันลงแข่งขันในระดับ ไทยลีก 3 โซนใต้ สโมสรกีฬาราชประชาถือเป็นหนึ่งในสโมสรฟุตบอลที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในประเทศไทย โดยเป็นสโมสรฟุตบอลที่สามารถคว้าแชมป์ไทยเอฟเอคัพได้เป็นสโมสรแรก และเป็นสโมสรที่ได้แชมป์เอฟเอคัพมากที่สุดในประเทศไทยที่ 5 สมัย รวมถึงการสร้างผลงานคว้าแชมป์ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก. ได้ถึง 4 สมัย, แชมป์ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข. 1 สมัย และ ได้แชมป์ลีกภูมิภาค ดิวิชัน 2 1 สมัย นอกจากนี้ยังได้รับการยกย่องในด้านการสนับสนุนนักฟุตบอลระดับเยาวชน และถือเป็นสโมสรหนึ่งที่ผลิตนักฟุตบอลป้อนเข้าสู่ที่ชาติไทยมากที่สุดตลอดระยะเวลากว่า 40 ปี สโมสรกีฬาราชประชายังได้รับการยกย่องว่าเป็นต้นแบบของฟุตบอลอาชีพในประเทศไทย เนื่องจากเป็นทีมที่ลงแข่งขันฟุตบอลสโมสรในระดับสูงสุดทีมแรกที่ไม่ใช่ทีมราชการ,รัฐวิสาหกิจ,ทหาร,ตำรวจ,ธนาคาร หรือ ตัวแทนบริษัทห้างร้านใหญ่ๆ หากแต่เป็นเพียงทีมที่ทำฟุตบอลอย่างเดียวเท่านั้นโดยไม่มีกิจการอื่นมาคอยสนับสนุนงบประมาณ สโมสรถูกก่อตั้งอย่างเป็นทางการครั้งแรกในชื่อ "ทีมราชประชานุเคราะห์ดับเพลิง" โดย พล.ต.ต.ม.ร.ว.เจตจันทร์ ประวิตร สโมสรลงเล่นอย่างเป็นทางการครั้งแรกเมื่อวันที่ 24 กุมภาพัน..

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและสโมสรกีฬาราชประชา · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงมานิจ ชุมสาย

ลตำรวจจัตวา หม่อมหลวงมานิจ ชุมสาย (5 ตุลาคม พ.ศ. 2451 - 3 มกราคม พ.ศ. 2552) นักเขียน นักภาษาศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ นักการศึกษา หม่อมหลวงมานิจ ชุมสาย เป็นบุตรของ พันเอก หลวงเอนกนัยวาที (หม่อมราชวงศ์นารถ ชุมสาย) มีน้องสาวคือ หม่อมหลวงอนงค์ นิลอุบล เกิดที่จังหวัดฉะเชิงเทรา จบชั้นมัธยม 8 จากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และได้รับพระราชทานทุนเล่าเรียนหลวง ไปศึกษาอักษรศาสตร์จาก ทรินิตี้คอลเลจ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ สำเร็จการศึกษาเมื่อปี..

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและหม่อมหลวงมานิจ ชุมสาย · ดูเพิ่มเติม »

หลวงปู่ขาว อนาลโย

หลวงปู่ขาว อนาลโย เป็นพระภิกษุ คณะธรรมยุติกนิกาย ท่านได้รับความเคารพนับถือจากพุทธศาสนิกชนในฐานะพระนักปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน สายของพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและหลวงปู่ขาว อนาลโย · ดูเพิ่มเติม »

อาณัตพล ศิริชุมแสง

อาณัตพล ศิริชุมแสง (อาร์) นักร้อง ผู้ชนะเลิศการประกวดเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาวปี 3.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและอาณัตพล ศิริชุมแสง · ดูเพิ่มเติม »

ผู้อำนวยการ

ผู้อำนวยการ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและผู้อำนวยการ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุดรธานี

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและจังหวัดอุดรธานี · ดูเพิ่มเติม »

จารุบุตร เรืองสุวรรณ

ร้อยโท จารุบุตร เรืองสุวรรณ (15 มิถุนายน พ.ศ. 2463 — 19 มีนาคม พ.ศ. 2527 เวลา 0.14 น.) อดีตประธานวุฒิสภา อดีตประธานรัฐสภา และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น 5 สมัย เป็นบิดาของนายจารุพงศ์ เรืองสุวรรณ.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและจารุบุตร เรืองสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ธง แจ่มศรี

ง แจ่มศรี หรือ สหายประชา ธัญญไพบูลย์ เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ซึ่งได้รับตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ. 2525 แม้ว่าในปัจจุบันพรรคคอมมิวนิสต์ฯ จะยุติการดำเนินการไปแล้ว แต่นายธง ยังคงมีความเคลื่อนไหวในการออกแถลงการณ์ของพรรคฯ เมื่อปี พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและธง แจ่มศรี · ดูเพิ่มเติม »

ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 2

ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ฤดูกาลที่ 2 (ชื่อเดิม: ยูบีซี อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ฤดูกาลที่ 2) เป็นรายการเรียลลิตี้โชว์ ทางทรูวิชั่นส์ จัดขึ้นระหว่างวันที่ 18 กรกฎาคม - 8 ตุลาคม พ.ศ. 2548 ออกอากาศ 12 สัปดาห์ ซึ่งเป็นการจัดต่อเนื่องมาจากความสำเร็จอันเกินคาดของฤดูกาลก่อนหน้า คัดเลือกนักล่าฝัน 12 คน จากทั่วประเทศ เพื่อเข้าร่วมฝึกฝนทักษะการร้องเพลงและแสดงโชว์ภายในบ้าน และแสดงคอนเสิร์ตโจทย์เพลงที่ได้รับแต่ละสัปดาห์ทุกคืนวันเสาร์ ตัดสินผู้ชนะผ่านทางผลโหวต SMS.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

ณรงค์เดช นันทโพธิ์เดช

ันโท ณรงค์เดช นันทโพธิ์เดช (8 สิงหาคม พ.ศ. 2490 — 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2528) เป็นอดีตผู้บังคับกองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ ผู้ก่อตั้งหลักสูตรทหารเสือราชินี และเคยดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการโครงการพัฒนาตามพระราชดำร.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและณรงค์เดช นันทโพธิ์เดช · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ โศภน

ตราจารย์เกียรติคุณ ประเสริฐ โศภน (8 ธันวาคม 2486 -) เกิดที่จังหวัดสกลนคร เป็นบุตรคนที่ 6 ในจำนวน 10 คน ของ นายสุนทร และนางสว่างจิต โศภน เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ที่มีผลงานดีเด่นในสาขากายวิภาคศาสตร์และเซลล์ชีววิทยา เจ้าของรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น สาขาเซลล์ชีววิทยา ของมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำปี..

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและประเสริฐ โศภน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ปราโมทย์ นาครทรรพ

ตราจารย์ ปราโมทย์ นาครทรรพ นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษาพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ผู้อ้างแผนฟินแลนด์ (ปฏิญญาฟินแลนด์) และอดีตเลขาธิการพรรคพลังใหม่ เมื่อปี..

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและปราโมทย์ นาครทรรพ · ดูเพิ่มเติม »

แสวง พิบูลย์สราวุธ

แสวง พิบูลย์สราวุธ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี 2 สมัย และอดีตประธานพรรคเกษตรสังคม.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและแสวง พิบูลย์สราวุธ · ดูเพิ่มเติม »

โกสินทร์ ราชกรม

กสินทร์ ราชกรม (ชื่อเล่น: โก เกิดเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2525) เป็นนักแสดงชาวไทย เป็นนักแสดงสายเลือดใหม่หรือกลุ่ม Power 3 ของทางช่อง 3 จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและโกสินทร์ ราชกรม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสตรีราชินูทิศ

รงเรียนสตรีราชินูทิศ เป็นโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดอุดรธานี ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เดิมชื่อ "'โรงเรียนอุปถัมภ์นารี'" ก่อตั้งขึ้นเพื่อเป็นการสนองพระราชดำริของ สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี โดยมีคุณหญิงศรีสุริยราชวรานุวัตรเป็นผู้นำการบริจาคทรัพย์และก่อตั้งโรงเรียนขึ้น เปิดสอนเมื่อ พ.ศ. 2468 ปัจจุบัน ตั้งอยู่ ณ ตำบลหมากแข้ง อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นหนึ่งในโรงเรียนมัธยมศึกษาของประเทศไทยที่ยังคงเปิดทำการสอนในประเภทของโรงเรียนหญิงล้วน.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและโรงเรียนสตรีราชินูทิศ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว

อะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว เป็นการประกวดร้องเพลงในแนวเรียลลิตี้โชว์ จัดทำครั้งแรกโดยบริษัทเอ็กแซ็กท์ ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ออกฉายทางโมเดิร์นไนน์ทีวี และย้ายช่องออกอากาศเป็นทาง ช่องวัน ตั้งแต่ฤดูกาลที่ 11 เป็นต้นไป.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว · ดูเพิ่มเติม »

เดียร์น่า ฟลีโป

ียร์น่า ฟลีโป เกิดเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2537 เป็นนักแสดงลูกครึ่งไทย-ฝรั่งเศส สังกัดสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและเดียร์น่า ฟลีโป · ดูเพิ่มเติม »

เตียง ศิริขันธ์

นายเตียง ศิริขันธ์ (คนกลาง) ในเครื่องแบบเสรีไทย กับนายทหารสัมพันธมิตร นายเตียง ศิริขันธ์ กับนางนิวาศน์ ภริยา นายชาญ บุนนาค บุคคลที่ถูกสังหารพร้อมนายเตียง เตียง ศิริขันธ์ (5 ธันวาคม พ.ศ. 2452 - 13 ธันวาคม พ.ศ. 2495) เป็นนักการเมืองฉายา "ขุนพลภูพาน" หนึ่งใน "สี่เสืออีสาน" ซึ่งประกอบด้วยนายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ นายเตียง ศิริขันธ์ นายถวิล อุดล และนายจำลอง ดาวเรือง นายเตียงดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.สกลนคร 5 สมัย ตั้งแต่อายุ 28 ปี รัฐมนตรี 3 สมัย และเป็นหัวหน้าใหญ่เสรีไทยภาคอีสานและสกลนครโดยมีศูนย์บัญชาการอยู่บนเทือกเขาภูพาน แนวคิดทางการเมืองที่สำคัญ คือ "ข้าพเจ้าต้องการให้ทุก ๆ คนบนพื้นอันเป็นสยามประเทศนี้ เป็นราษฎรเสมอหน้ากันหมด ปราศจากความเหลื่อมล้ำต่ำสูง" เตียง ศิริขันธ์ ถูกฆ่ารัดคอและเผาศพทิ้งเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2495 ในสมัยรัฐบาลคณะรัฐประหาร มีผู้ถูกฆ่าในครั้งนั้น ได้แก่ ชาญ บุนนาค เล็ก บุนนาค ผ่อง เขียววิจิตร และ สง่า ประจักษ์วงศ์ โดยศพถูกนำไปเผาทิ้งที่ ต.แก่งเสี้ยน อ.เมือง.กาญจนบุรี นายเตียง ศิริขันธ์ เกิดที่บ้านในตำบลตลาด อำเภอเมืองสกลนคร เป็นบุตรคนที่ 6 ในจำนวน 10 คน ของขุนนิเทศพาณิชย์ (บุดดี ศิริขันธ์) กับนางอ้อน ศิริขันธ์ จบโรงเรียนเรียนฝึกหัดครูวัดบวรนิเวศวิหาร และคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สมรสกับนางนิวาศน์ ศิริขันธ์ (นามเดิม นิวาศน์ พิชิตรณการ เป็นบุตรสาวของ ร.อ.นาถ และนางเวศ พิชิตรณการ) มีบุตร 1 คน ชื่อ นายวิฑูรย์ ศิริขันธ์ เกี่ยวกับเชื้อสายของเตียง ศิริขันธ์ นั้นบิดาเป็นบุตรชายลำดับที่ 4 ของรองอำมาตย์โท พระบริบาลศุภกิจ (คำสาย ศิริขันธ์) หรือเพียเมืองขวา อดีตกรมการเมืองสกลนครชั้นผู้ใหญ่ กับนางบัว ศิริขันธ์ ธิดาของพระโคษาราช (ต้นตระกูล นาถโคษา) กำนันตำบลสะพานหิน ปู่ของเตียง ศิริขันธ์ ชื่อพระเสนาภักดี (ขันธ์ ศิริขันธ์) ย่าชื่อนางพรหมา ศิริขันธ์ ปู่ทวดชื่อพระศรีวรราชหรือเพียสีสุวงษ์ (ท้าวรี) ย่าทวดชื่อนางที บิดาของปู่ทวดชื่อเพียสีหาเทพ (ท้าวศรี) กรมการเมืองสกลนครชั้นผู้ใหญ่ชุดแรกสมัยเริ่มตั้งเมืองสกลนคร ตระกูลของเตียงศิริขันธ์นับว่าเป็นเชื้อสายขุนนางเก่าแก่ และเกี่ยวดองกับตระกูลเจ้าเมืองของสกลนครมายาวนาน คือ ตระกูล พรหมสาขา ณ สกลนคร.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและเตียง ศิริขันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

21 กันยายน

วันที่ 21 กันยายน เป็นวันที่ 264 ของปี (วันที่ 265 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 101 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลและ21 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »