โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

โตเกียวเหมียวเหมียว

ดัชนี โตเกียวเหมียวเหมียว

ตเกียวเหมียวเหมียว เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นแนวโชโจะและสาวน้อยเวทมนตร์ วาดโดย เรโกะ โยชิดะ และตีพิมพ์ในประเทศญี่ปุ่นโดยสำนักพิมพ์โคดันฉะ ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2546 - เมษายน พ.ศ. 2547 และยังได้มีการนำมาสร้างเป็นสื่ออื่น ๆ ได้แก่ ภาพยนตร์การ์ตูนโทรทัศน์ และเกม.

19 ความสัมพันธ์: ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีพ.ศ. 2543พ.ศ. 2545พ.ศ. 2546พ.ศ. 2547การ์ตูนญี่ปุ่นสาวน้อยเวทมนตร์สำนักพิมพ์โคดันชะอะนิเมะทีวีโตเกียวปิเอโร (บริษัท)โชโจะเพลย์สเตชันเกมบอยอัดวานซ์เกมเล่นตามบทบาท11 กรกฎาคม29 มีนาคม5 ธันวาคม6 เมษายน

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี

นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 9 จนถึงปัจจุบัน สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล มีพลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการบริษัท และนายเขมทัตต์ พลเดชเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ.

ใหม่!!: โตเกียวเหมียวเหมียวและช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: โตเกียวเหมียวเหมียวและพ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โตเกียวเหมียวเหมียวและพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: โตเกียวเหมียวเหมียวและพ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: โตเกียวเหมียวเหมียวและพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

การ์ตูนญี่ปุ่น

การ์ตูนญี่ปุ่น เป็นคำที่ใช้เรียก หนังสือการ์ตูน หรือภาพยนตร์การ์ตูนที่มาจากประเทศญี่ปุ่น ลักษณะของการ์ตูนญี่ปุ่น ตัวละครในเนื้อเรื่องจะมีลักษณะเฉพาะตัว และเนื้อเรื่องที่แตกต่างกัน โดยส่วนมากแล้ว ภาพของคนและสัตว์ที่ปรากฏในการ์ตูนญี่ปุ่นมักจะมีสัดส่วนผิดเพี้ยนไปจากความจริง เช่นมีทรวดทรงที่เล็ก-ใหญ่กว่าปกติ หรือดวงตาที่โตกว่าปกติ แตกต่างจากการ์ตูนฝั่งตะวันตกที่มักจะเขียนภาพคนและสัตว์ออกมาในลักษณะเหมือนจริง ในภาษาญี่ปุ่นและหลายประเทศที่รับเอาวัฒนธรรมการ์ตูนญี่ปุ่นเข้าไปจะเรียกหนังสือการ์ตูนญี่ปุ่นเป็นศัพท์เฉพาะว่า มังงะ และเรียกภาพยนตร์การ์ตูนจากญี่ปุ่นว่า อะนิเมะ (ตัดทอนมาจากคำว่า Animation ในภาษาอังกฤษ).

ใหม่!!: โตเกียวเหมียวเหมียวและการ์ตูนญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

สาวน้อยเวทมนตร์

วน้อยเวทมนตร์ (ญี่ปุ่น: 魔法少女, โรมะจิ: mahō shōjo) เป็นตัวละครประเภทหนึ่งในการ์ตูนญี่ปุ่น โดยหมายความถึงเด็กผู้หญิงที่มีพลังวิเศษบางอย่าง ยกตัวอย่างเช่น แซลลี่ ตัวละครเอกของเรื่องแม่มดน้อยแซลลี่, และ อั๊กโกะ ตัวละครเอกของเรื่อง ฮิมิตสึ โนะ อั๊กโกะจัง คำภาษาญี่ปุ่นอีกคำหนึ่งที่มีความหมายเดียวกันคือ "มะจกโกะ" (魔女っ子) คำว่าสาวน้อยเวทมนตร์ยังเป็นคำเรียกการ์ตูนญี่ปุ่นที่มีตัวละครเอกเป็นสาวน้อยเวทมนตร์อีกด้วย อะนิเมะแนวสาวน้อยเวทมนตร์มีต้นกำเนิดมาจากเรื่องแม่มดน้อยแซลลี่ ซึ่งได้รับอิทธิพลจากความโด่งดังของรายการโทรทัศน์แนวตลกของอเมริกาเรื่อง Bewitched ซึ่งฉายในญี่ปุ่นในช่วงพ.ศ. 2507.

ใหม่!!: โตเกียวเหมียวเหมียวและสาวน้อยเวทมนตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักพิมพ์โคดันชะ

ำนักพิมพ์โคดันชะ สำนักพิมพ์โคดันชะ เป็นสำนักพิมพ์ยักษ์ใหญ่ของประเทศญี่ปุ่น ตีพิมพ์วรรณกรรม และหนังสือการ์ตูน เป็นหลัก สำนักงานใหญ่ของสำนักพิมพ์โคดันชะตั้งอยู่ที่กรุงโตเกียว สำนักพิมพ์โคดันชะมีหนังสือการ์ตูนรายสัปดาห์หลักๆ ได้แก่ นากาโยชิ อาฟเตอร์นูน และโชเน็นแม็กกาซีน.

ใหม่!!: โตเกียวเหมียวเหมียวและสำนักพิมพ์โคดันชะ · ดูเพิ่มเติม »

อะนิเมะ

รูปแบบอะนิเมะในปัจจุบัน อะนิเมะ (「アニメ」 anime) เป็นคำภาษาญี่ปุ่นที่มาจากภาษาอังกฤษว่า แอนิเมชั่น (animation) ซึ่งมาจาก ภาษาฝรั่งเศส อานีเม่ (animé) และจากภาษาละติน แปลว่าเคลื่อนไหว หรือภาพเคลื่อนไหว แต่ความหมายกลายจนเป็นคำเฉพาะของภาษาญี่ปุ่นแปลว่า ภาพยนตร์การ์ตูน ภายนอกประเทศญี่ปุ่น อะนิเมะหมายถึงภาพยนตร์การ์ตูนสัญชาติญี่ปุ่น ซึ่งส่วนใหญ่มีลักษณะทางศิลปะแตกต่างกับภาพยนตร์การ์ตูนจากแหล่งอื่น อะนิเมะส่วนใหญ่จะวาดขึ้นด้วยมือ แต่ปัจจุบันมีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยสร้างอะนิเมะอย่างแพร่หลาย อะนิเมะส่วนใหญ่สร้างขึ้นเพื่อให้ความบันเทิงเหมือนภาพยนตร์ โดยมีแนวเรื่องหลากหลายและครอบคลุมแนววรรณกรรมเกือบทุกแนว อะนิเมะส่วนใหญ่ถูกสร้างขึ้นเป็นตอน ๆ เพื่อฉายทางโทรทัศน์ ส่วนหนึ่งถูกสร้างเป็นภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยาวเพื่อฉายในโรงภาพยนตร์ และอีกส่วนหนึ่งถูกสร้างเป็นตอน ๆ เพื่อขายตรงในรูปแบบดีวีดี วีซีดี หรือวีดิโอ ดูมีการทำตอนเฉพาะที่เรียกว่า โอวีเอ อะนิเมะหลายเรื่องถูกดัดแปลงมาจากมังงะ นอกจากนี้ยังมีอะนิเมะที่ถูกนำไปดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์อีกด้ว.

ใหม่!!: โตเกียวเหมียวเหมียวและอะนิเมะ · ดูเพิ่มเติม »

ทีวีโตเกียว

ทีวีโตเกียว คอปอร์เรชัน (TV Tokyo Corporation) หรือเรียกย่อๆว่า TX เป็นสถานีโทรทัศน์ในประเทศญี่ปุ่น เป็นบริษัทลูกในเครือบริษัท นิฮอนเคะไซชิมบุง และยังเป็นสมาชิกของเครือสถานีโทรทัศน์ TX Network (TXN) ในปัจจุบันทีวีโตเกียวเป็นสถานีที่เน้นการออกอากาศอะนิเมะเป็นหลัก.

ใหม่!!: โตเกียวเหมียวเหมียวและทีวีโตเกียว · ดูเพิ่มเติม »

ปิเอโร (บริษัท)

ปิเอโร (Kabushiki-gaisha Piero; Pierrot Co., Ltd.) เป็นสตูดิโอแอนิเมชันในประเทศญี่ปุ่น ก่อตั้งขึ้นในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1979 ผลงานที่มีชื่อเสียงของปิเอโร ได้แก่ นินจาคาถาโอ้โฮเฮะ, เทพมรณะ, คนเก่งทะลุโลก, ปอบโตเกียว, เด็กพันธุ์นรกสั่งลุย, จีทีโอ คุณครูพันธุ์หายาก เป็นต้น.

ใหม่!!: โตเกียวเหมียวเหมียวและปิเอโร (บริษัท) · ดูเพิ่มเติม »

โชโจะ

() เป็นคำภาษาญี่ปุ่นแปลตรงตัวว่า "สาวน้อย" นอกประเทศญี่ปุ่น คำนี้ใช้เรียกการ์ตูนญี่ปุ่นที่มีเด็กวัยรุ่นหญิงเป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก การ์ตูนญี่ปุ่นแนวโชโจะมักเป็นเรื่องของความรัก และมักมีตัวละครเอกเป็นเด็กผู้หญิงที่จิตใจเข้มแข็ง อย่างไรก็ดีมีการ์ตูนแนวโชโจะบางเรื่องที่มีตัวละครเอกเป็นผู้ชายและมีฉากต่อสู้เพื่อให้ถูกรสนิยมผู้อ่านกลุ่มอื่น นอกจากนี้ หลายเรื่องใช้ความรักระหว่างผู้ชายกับผู้ชาย (ดูเพิ่ม: โชเน็นไอและยาโออิ) เป็นตัวชูรสและดึงดูดผู้อ่านหญิง รูปการ์ตูนญี่ปุ่นแนวโชโจะมักมีเส้นคม ดูเบา ตาของตัวละครมักเป็นประกายและใหญ่กว่าปกติ การ์ตูนแนวโชโจะนั้นมักสับสนกับการ์ตูนแนวบิโชโจะ (เด็กผู้หญิงสวย) ซึ่งหมายถึงการ์ตูนญี่ปุ่นที่มีตัวละครหญิงที่มีหน้าตาและรูปร่างสวยงามเป็นจุดขาย โดยมีผู้ชายเป็นกลุ่มเป้าหม.

ใหม่!!: โตเกียวเหมียวเหมียวและโชโจะ · ดูเพิ่มเติม »

เพลย์สเตชัน

ลย์สเตชัน (อังกฤษ: PlayStation ญี่ปุ่น: プレイステーション) เป็นเครื่องเล่นวิดีโอเกม ระบบ 32 บิต ผลิตโดย Sony Computer Entertainment โดยได้มีออกมาหลายรุ่นในลักษณะหลักเดียวกันในช่วงปลายปี ทศวรรษ 2540 หลังจากที่ประสบความสำเร็จทางโซนี่ได้ออกเครื่องเล่นเกมในรุ่นต่อมาซึ่งได้แก่ พีเอสวัน (PSone), เพลย์สเตชัน 2, PSP (PlayStation Portable) และ เพลย์สเตชัน 3 ที่ออกจำหน่ายไปแล้วเมื่อปลายปี พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: โตเกียวเหมียวเหมียวและเพลย์สเตชัน · ดูเพิ่มเติม »

เกมบอยอัดวานซ์

กมบอยอัดวานซ์ เกมบอยอัดวานซ์ (Gameboy Advance หรือตัวย่อ GBA) เป็นเครื่องเล่นเกมพกพาของบริษัทนินเทนโด ถือว่าเป็นรุ่นล่าสุดในเครื่องเล่นเกมตระกูลเกมบอย วางจำหน่ายครั้งแรกในประเทศญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 21 มีนาคม ค.ศ. 2001 ในทวีปอเมริกาเหนือ วันที่ 11 มิถุนายน ค.ศ. 2001 และทวีปยุโรปเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 2001 มีรหัสระหว่างการพัฒนาว่า Project Atlantis เกมบอยอัดวานซ์สามารถเล่นเกมเก่าของเกมบอย และ เกมบอยคัลเลอร์ ได้.

ใหม่!!: โตเกียวเหมียวเหมียวและเกมบอยอัดวานซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เกมเล่นตามบทบาท

กมเล่นตามบทบาท หรือ เกมอาร์พีจี (Role-playing game: RPG) คือเกมประเภทหนึ่งที่ผู้เล่นสมมุติรับบทเป็นตัวละครหนึ่งในเกม โดยเล่นตามกฎกติกาของเกมผ่านการป้อนคำสั่งและเลือกเงื่อนไขที่เกมกำหนดมา โดยผลลัพธ์ที่เกิดจะแตกต่างกัน ตามเงื่อนไขที่เลือก โดยเกมอาจจะเป็นทั้งลักษณะ การเล่นโดยเขียนในกระดาษ วิดีโอเกมหรือคอมพิวเตอร์เกมก็ได้ ในยุคแรกๆเกมเล่นตามบทบาทจะเป็นลักษณะของเกมกระดาน ที่ผู้เล่นจะแบ่งฝ่ายเป็นสองฝ่าย ฝ่ายหนึ่งจะเป็นผู้นำในเกม ทำหน้าที่บอกเล่าเรื่องราวต่างๆผ่านกระดานในเกม ขณะที่ผู้เล่นอีกฝ่ายจะเป็นผู้เล่นต้องสร้างตัวละครและทอยเต๋ากำหนดค่าต่างๆ รวมถึงกระทำตามกฎต่างๆ เช่น การพูดคุยหาข้อมูล, การต่อสู้กับสัตว์ประหลาด, การเก็บวัตถุและอาวุธ, เก็บสะสมค่าประสบการณ์และเลื่อนระดับ (เลเวล) จุดเด่นที่ทำให้เกมเล่นตามบทบาทได้รับความนิยม เพราะเกมเล่นตามบทบาทจะมีอิสระในกฎกติกา ทำให้การเล่นในแต่ละครั้งจะเปลี่ยนไปขึ้นอยู่กับที่ผู้นำเกมเลือก เกมเล่นตามบทบาทแบบกระดานที่ได้รับความนิยมในต่างประเทศมีมาก แต่ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดคือ ดันเจี้ยนส์แอนด์ดราก้อน และ วอร์แฮมเมอร์ เมื่อถึงยุคที่เครื่องเกมคอมพิวเตอร์และวิดีโอเกมเริ่มเข้ามามีบทบาทมากขึ้น เกมเล่นตามบทบาทหลายๆเกมก็พัฒนากลายมาเป็นวิดีโอเกมแนวเล่นตามบทบาท โดยยังคงลักษณะเดิมของตัวเกมไว้ เช่น การให้ผู้เล่นสร้างตัวละครขึ้นเอง การต่อสู้ที่อ้างอิงหลักการทอยลูกเต๋า และอิสรภาพในเกม แต่เมื่อความนิยมเกมเล่นตามบทบาทได้เข้าในประเทศญี่ปุ่นได้เกิดเกมเล่นตามบทบาทแบบญี่ปุ่นขึ้น หรือที่เรียกว่า คอนโซล-โรลเพลย์อิงเกม (Console-Roleplaying Game) ซึ่งจะตัดทอนเสรีภาพในการเล่นลง แต่จะเสริมเนื้อหาที่เรื่องราวและตัวละครให้มากขึ้น ส่วนเกมของฝั่งอเมริกาจะเรียกว่า คอมพิวเตอร์-โรลเพลย์อิงเกม (Computer-Roleplaying Game) และฝ่ายเกมกระดานก็ถูกเรียกว่า เทเบิ้ลทอป-โรลเพลย์อิงเกม (Tabletop-Roleplaying Game) ในปัจจุบันคำจัดการความของคำว่า เกมเล่นตามบทบาท หรือ RPG นั้น ในฝั่งประเทศแถบเอเชียจะหมายถึง เกมที่มีการเก็บค่าประสบการณ์, การต่อสู้กับสัตว์ประหลาด, ฉากต่อสู้แบบตัดฉากจากฉากสนาม และเนื้อเรื่องที่สวยงามและสนุกสนาน แต่ในเกมฝั่งอเมริกาจะหมายถึง เกมที่มีเสริภาพในการเล่น, การสรรค์สร้างตัวละครได้ตามต้องการ ในประเทศไทย นักเล่นเกมคอมพิวเตอร์บางส่วนเรียกเกมเล่นตามบทบาทบนเครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องคอนโซลว่า เกมภาษา เนื่องจาก ผู้เล่นรู้สึกว่าเกมเล่นตามบทบาทมีใช้การเลือกคำสั่ง ผ่านบทสนทนาของตัวละคร (ในช่วงแรกเป็นภาษาญี่ปุ่น) สำหรับการดำเนินเกม ในปัจจุบันถึงแม้ว่าเกมเล่นตามบทบาทบนเครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องคอนโซลยังเป็นที่นิยม แต่ก็ยังมีการจำหน่ายเกมเล่นตามบทบาทแบบกระดานอยู่ เกมเล่นตามบทบาทแบบเกมกระดานที่ได้รับความนิยมในปัจจุบันได้แก่ ดันเจี้ยนส์แอนด์ดราก้อน และ วอร์แฮมเมอร์ เกมเล่นตามบทบาทของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมในปัจจุบันได้แก่ เดียอาโบล และ ดิเอลเดอร์สครอลส์ เกมเล่นตามบทบาทของเครื่องคอมโซลที่ได้รับความนิยมในปัจจุบันได้แก่ ไฟนอลแฟนตาซี และ ดราก้อนเควสต.

ใหม่!!: โตเกียวเหมียวเหมียวและเกมเล่นตามบทบาท · ดูเพิ่มเติม »

11 กรกฎาคม

วันที่ 11 กรกฎาคม เป็นวันที่ 192 ของปี (วันที่ 193 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 173 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โตเกียวเหมียวเหมียวและ11 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 มีนาคม

วันที่ 29 มีนาคม เป็นวันที่ 88 ของปี (วันที่ 89 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 277 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โตเกียวเหมียวเหมียวและ29 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 ธันวาคม

วันที่ 5 ธันวาคม เป็นวันที่ 339 ของปี (วันที่ 340 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 26 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โตเกียวเหมียวเหมียวและ5 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 เมษายน

วันที่ 6 เมษายน เป็นวันที่ 96 ของปี (วันที่ 97 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 269 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: โตเกียวเหมียวเหมียวและ6 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ขบวนการเหมียว เหมียว

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »