โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

โซลอาฟเตอร์ซิกซ์

ดัชนี โซลอาฟเตอร์ซิกซ์

ซลอาฟเตอร์ซิกซ์ (Soul After Six) เป็นการรวมตัวกันของ 3 หนุ่ม ปึ่ง, ปิงปอง และบิ๊ก ผู้หลงใหลในดนตรีโซล โดยชื่อวงมาจากการนัดซ้อมดนตรีหลังเวลา 6 โมงเย็น ออกผลงานครั้งแรกในสังกัดเบเกอรี่มิวสิก กับอัลบั้ม "Soul After Six" ในปี พ.ศ. 2539 มีเพลงที่โด่งดังอย่าง "ก้อนหินละเมอ" ที่กลายเป็นเพลงฮิตตลอดกาลไปในเวลาต่อมา หลังจากพวกเขาแยกย้ายกันไปหาประสบการณ์เป็นเวลาถึง 6 ปี ก็กลับมาออกอัลบั้มอีกครั้งในปี..

13 ความสัมพันธ์: ฟังก์พ.ศ. 2539พ.ศ. 2545พ.ศ. 2546กรุงเทพรางวัลแฮมเบอร์เกอร์อวอร์ดส์ ครั้งที่ 1ศรุต วิจิตรานนท์ประเทศไทยป็อปโซล (แนวดนตรี)โซลอาฟเตอร์ซิกซ์เบเกอรี่มิวสิคเอซิดแจ๊ซ

ฟังก์

ฟังก์ (Funk) เป็นแนวเพลงชนิดหนึ่งเกิดขึ้นในช่วงกลางถึงปลายทศวรรษที่ 1960 เมื่อนักดนตรีชาวแอฟริกัน-อเมริกัน ได้รวมเพลงแนวโซล เข้ากับโซลแจ๊ส และอาร์แอนด์บี ให้มีจังหวะ สามารถเต้นรำได้ เกิดแนวเพลงชนิดใหม่ ฟังก์ได้ลดความเด่นของเมโลดี้และความกลมกลืนลง และนำจังหวะสนุกสนานเพิ่มขึ้นด้วยเบสอิเล็กทรอนิกและกลองให้ชัดขึ้น ไม่เหมือนกับเพลงอาร์แอนด์บีหรือโซล ที่มีการเปลี่ยนคอร์ดหลายครั้ง เพลงฟังก์มักจะมีคอร์ดเดียว ฟังก์ประกอบด้วยจังหวะของเครื่องดนตรีอย่าง กีตาร์ไฟฟ้า เบสไฟฟ้า แฮมมอนด์ออร์แกน และกลอง เล่นในจังหวะที่เกาะเกี่ยวกัน วงฟังก์มักจะมีเครื่องเป่าอยู่ด้วย อย่าง แซกโซโฟน ทรัมเป็ต หรือในบางครั้งก็มี ทรอมโบน ผู้มีอิทธิพลต่อดนตรีฟังก์ เช่น เจมส์ บราวน์,สลาย แอนด์ เดอะ แฟมิลี สโตน, จอร์จ คลินตัน แอนด์ พาร์ไลเมน-ฟังก์คาเดลิก,เคอร์ติส เมฟิลด์, เดอะ เมเตอร์ส,เดอะ ฟังก์ บราเตอร์ส, บูทซี คอลลินส์ และ พรินซ์ วงดนตรีที่เป็นที่รู้จักในทศวรรษที่ 1970 อย่าง เอิร์ธ, วินด์แอนด์ไฟร์,ทาวเวอร์ ออฟ พาวเวอร์, คอมโมดอร์ส และคูลแอนด์เดอะแก๊ง ที่โด่งดังหลายๆ วง ก็เล่นเพลงในแนวดิสโก้และโซลด้วย ดนตรีฟังก์ได้มีการพัฒนาอย่างมากในช่วงทศวรรษที่ 1970 ในช่วงที่ดนตรีดิสโก้โด่งดัง มีความนิยมในการใช้ท่อมแซมเปิ้ลของดนตรีฟังก์ในดนตรีฮิปฮอป และฟังก์ยังมีอิทธิพลต่อแนวดนตรี โก-โก ฟังก์อย่างมีอิทธิพลต่อเพลงแนวนิวเวฟและโพสต์พังก์บ้าง.

ใหม่!!: โซลอาฟเตอร์ซิกซ์และฟังก์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โซลอาฟเตอร์ซิกซ์และพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: โซลอาฟเตอร์ซิกซ์และพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: โซลอาฟเตอร์ซิกซ์และพ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพ

กรุงเทพ อาจหมายถึง; ดินแดนและการปกครอง.

ใหม่!!: โซลอาฟเตอร์ซิกซ์และกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลแฮมเบอร์เกอร์อวอร์ดส์ ครั้งที่ 1

รางวัลแฮมเบอร์เกอร์อวอร์ดส์ ครั้งที่ 1 เป็นรางวัลที่นิตยสารแฮมเบอร์เกอร์ ในเครือบริษัทเดย์อาฟเตอร์เดย์จำกัด พิจารณามอบให้กับผู้ที่สร้างสรรค์ผลงานด้านวงการบันเทิงในรอบปีพ.ศ. 2545 ซึ่งเป็นการจัดทำขึ้นเป็นครั้งแรก โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้กำลังใจแก่ผู้สร้างสรรค์ผลงาน เป็นกระจกสะท้อนภาพรวม และยกระดับมาตรฐานของวงการบันเทิงไท.

ใหม่!!: โซลอาฟเตอร์ซิกซ์และรางวัลแฮมเบอร์เกอร์อวอร์ดส์ ครั้งที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

ศรุต วิจิตรานนท์

รุต วิจิตรานนท์ (ชื่อเล่น: บิ๊ก, ชื่อเดิม: วิทย์) เป็นนักแสดงและนักดนตรีวงโซลอาฟเตอร์ซิกซ์ ในตำแหน่งมือ.

ใหม่!!: โซลอาฟเตอร์ซิกซ์และศรุต วิจิตรานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: โซลอาฟเตอร์ซิกซ์และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ป็อป

นตรีป็อป หรือ เพลงป็อป (pop music พอปมิวสิก) เป็นประเภทของเพลงสมัยนิยมที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรในช่วงกลางทศวรรษที่ 1950S.

ใหม่!!: โซลอาฟเตอร์ซิกซ์และป็อป · ดูเพิ่มเติม »

โซล (แนวดนตรี)

ซล เป็นแนวเพลงประเภทหนึ่งที่รวมกันระหว่างอาร์แอนด์บีและกอสเปล กำเนิดในประเทศสหรัฐอเมริกา จากร็อกแอนด์โรลฮอลล์ออฟเฟม โซลมีความหมายว่า "ดนตรีที่เกิดขึ้นโดยคนผิวสี ในอเมริกา ที่เปลี่ยนรูปจากกอสเปลและอาร์แอนด์บี ในจังหวะที่สนุกสนาน โดยไม่มีเนื้อหาเกี่ยวกับทางศาสนา" การแสดงจะผ่านทางอารมณ์ และเมโลดี้มีการตกแต่งในลักษณะคีตปฏิภาณ นอกจากนี้ยังใช้ซาวด์แบบวนและเป็นเครื่องเสริม จังหวะที่ติดหู อาจมีการตบมือประกอบ การเคลื่อนไหวแบบพลาสติก องค์ประกอบอีกอย่างของโซลที่เรียกว่า call and response ที่เป็นการร้องโต้ตอบกันระหว่าง นักร้อง กับคอรัส โดยเฉพาะเสียงที่ตึง.

ใหม่!!: โซลอาฟเตอร์ซิกซ์และโซล (แนวดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

โซลอาฟเตอร์ซิกซ์

ซลอาฟเตอร์ซิกซ์ (Soul After Six) เป็นการรวมตัวกันของ 3 หนุ่ม ปึ่ง, ปิงปอง และบิ๊ก ผู้หลงใหลในดนตรีโซล โดยชื่อวงมาจากการนัดซ้อมดนตรีหลังเวลา 6 โมงเย็น ออกผลงานครั้งแรกในสังกัดเบเกอรี่มิวสิก กับอัลบั้ม "Soul After Six" ในปี พ.ศ. 2539 มีเพลงที่โด่งดังอย่าง "ก้อนหินละเมอ" ที่กลายเป็นเพลงฮิตตลอดกาลไปในเวลาต่อมา หลังจากพวกเขาแยกย้ายกันไปหาประสบการณ์เป็นเวลาถึง 6 ปี ก็กลับมาออกอัลบั้มอีกครั้งในปี..

ใหม่!!: โซลอาฟเตอร์ซิกซ์และโซลอาฟเตอร์ซิกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เบเกอรี่มิวสิค

กอรี่มิวสิก (Bakery Music) เป็นสังกัดค่ายเพลงที่ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2537 โดยผู้ก่อตั้งอย่าง บอย โกสิยพงษ์, กมล สุโกศล แคลปป์, สมเกียรติ อริยะชัยพาณิชย์ และ สาลินี ปันยารชุน มีผลงานอัลบั้มแรกของค่ายอย่าง โมเดิร์นด็อก ที่ได้รับความสำเร็จอย่างสูงในฐานะค่ายเพลงแห่งใหม่ ศิลปินที่มีชื่อเสียงของค่าย ได้แก่ โมเดิร์นด็อก, บอย โกสิยพงษ์, โจอี้ บอย, กรู๊ฟไรเดอร์สและอีกมากมาย เคยประสบกับภาวะการขาดทุนระยะหนึ่งก่อนจะถูกควบรวมเข้ากับค่ายเพลงสากลอย่าง บีเอ็มจี และกลายมาเป็นส่วนหนึ่งของค่ายเพลง โซนี่ มิวสิก ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: โซลอาฟเตอร์ซิกซ์และเบเกอรี่มิวสิค · ดูเพิ่มเติม »

เอซิดแจ๊ซ

อซิดแจ๊ซ (Acid jazz) หรือในอเมริการู้จักอีกชื่อว่า กรูฟแจ๊ซ เป็นแนวเพลงที่รวมองค์ประกอบของเพลงแจ๊ซ, ฟังก์ และฮิปฮอป ด้วยกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้จังหวะซ้ำไปซ้ำมา พัฒนาในสหราชอาณาจักรในทศวรรษ 1980 และ 1990 สามารถเห็นได้จากแนวทงของดนตรีของแจ๊สฟังก์ บนดนตรีอีเลกโทรนิก/ป็อป: นักดนตรีแจ๊สฟังก์อย่างเช่น รอย เอเยอร์สและโดนัลด์ เบิร์ด มักได้รับเครดิตว่าเป็นแถวหน้าแห่งวงการเอซิดแจ๊ส เอซิดแจ๊ซยังได้รับอิทธิพลบางส่วนจากดนตรีโซล, ดนตรีเฮาส์ และดิสโก้.

ใหม่!!: โซลอาฟเตอร์ซิกซ์และเอซิดแจ๊ซ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Soul After Six

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »