โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

แอรอน สวอตซ์

ดัชนี แอรอน สวอตซ์

แอรอน ฮิลเลล สวอตซ์ (Aaron Hillel Swartz; 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2529 – 11 มกราคม พ.ศ. 2556) เป็นทั้งนักโปรแกรมคอมพิวเตอร์ นักลงทุน นักเขียน ผู้จัดตั้งทางการเมือง ชาวอเมริกันซึ่งอยู่ใน ลัทธิแฮกเกอร์อินเทอร์เน็ต เขามีส่วนร่วมในการพัฒนารูปแบบของฟีดที่เรียกว่าอาร์เอสเอ.

27 ความสัมพันธ์: บรุกลินชิคาโกฟีดการขโมยข้อมูลภาษาลิสป์ภาษาไพทอนมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดมาร์กดาวน์ระบบจัดการเนื้อหารัฐอิลลินอยส์ร่างรัฐบัญญัติหยุดยั้งการละเมิดลิขสิทธิ์ออนไลน์ลอว์เรนซ์ เลสสิกวารสารวิชาการวิกิพีเดียอาร์เอสเอสอินเทอร์เน็ตอาร์ไคฟ์อเล็กซานดรา เอลบัคยานครีเอทีฟคอมมอนส์ความเคลื่อนไหวทางอินเตอร์เน็ตประสาทวิทยาศาสตร์ประเทศคาซัคสถานนครนิวยอร์กไฮสกูลเวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียมเว็บเชิงความหมายเจสตอร์

บรุกลิน

รุกลิน (Brooklyn ตั้งชื่อตามเมืองในเนเธอร์แลนด์ว่า Breukelen) เป็นหนึ่งใน 5 เบอโรในนครนิวยอร์ก ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของควีนส์ ทางปลายสุดของลองไอแลนด์ เป็นเมืองอิสระจนกระทั่งรวมกับนิวยอร์กในปี 1898 บรุกลินถือเป็นเบอโรที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดของนิวยอร์กซิตี ด้วยจำนวนผู้อยู่อาศัย 2.5 ล้านคน และหากแยกเป็นเมืองแล้ว ถือว่าเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 4 ของสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: แอรอน สวอตซ์และบรุกลิน · ดูเพิ่มเติม »

ชิคาโก

ก (Chicago; คำอ่าน) เป็นเมืองตั้งอยู่ในรัฐอิลลินอยส์ รู้จักกันในชื่อ "เมืองแห่งลม" (Windy City) ชื่อเล่นนี้ มีที่มาจากการที่นักข่าวเขียนล้อเลียนนักการเมืองของ ชิคาโกใน ศตวรรตที่ 19 เกี่ยวกับการพูดจากลับกลอกไปมา บางคนเชื่อว่ามีที่มาจากการที่เป็นเมืองที่มีลมพัดแรงตลอดเวลาแต่ไม่ได้มีหลักฐานใดๆเขียนสนับสนุนทฤษฎีนี้ ชิคาโกเป็นเมืองใหญ่อันดับสามในสหรัฐอเมริกาเทียบตามจำนวนประชากร รองจากเมืองนิวยอร์ก และลอสแอนเจลิส เมืองชิคาโกตั้งอยู่ในเคาน์ตีคุก รัฐอิลลินอยส์ เขตมิดเวสต์ของสหรัฐอเมริกา เมื่อรวมเคาน์ตีรอบ ๆ ชิคาโกทั้ง 8 เคาน์ตีจะเรียกเขตว่า ชิคาโกแลนด์ ซึ่งมีประชากรประมาณ 9 ล้านคน ชิคาโกพัฒนาจากเมืองทุ่งนาจากปี พ.ศ. 2376 (ค.ศ. 1833) กลายมาเป็นศูนย์กลางความเจริญแห่งหนึ่งของโลก และในปัจจุบันนับเป็น 1 ใน 10 เมืองสำคัญของโลกทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ชิคาโกยังคงเป็นศูนย์กลางทางด้านความเจริญ การเงิน การคมนาคม และวัฒนธรรมที่สำคัญของเขตมิดเวสต์ ในชิคาโกมีสนามบินอยู่ 3 แห่ง โดยสนามบินโอ'แฮร์ เป็นสนามบินนานาชาติที่มีการจราจรทางอากาศมากที่สุดเป็นหนึ่งในสามของสหรัฐอเมริกา ประชากรในชิคาโกประกอบด้วยหนึ่งในสามเป็นคนขาว และอีกหนึ่งในสามเป็นคนดำ และที่เหลือเป็นคนกลุ่มอื่น โดยในเมืองชิคาโกแบ่งออกเป็น 77 ชุมชนแยกตามกลุ่มประชากรที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: แอรอน สวอตซ์และชิคาโก · ดูเพิ่มเติม »

ฟีด

อคอนมาตรฐานของฟีด ฟีด (feed) ในทางโทรคมนาคม หมายถึงการส่งสัญญาณ ไปยังส่วนรับสัญญาณ เสาอากาศ หรือเครื่องมือต่างๆ ที่สามารถแปลงค่าสัญญาณไปใช้งานได้ ในบางครั้ง ฟีดใช้แทนเครื่องส่งสัญญาณ หรือเครื่องรับสัญญาณ ในทางอินเทอร์เน็ต ฟีดหมายถึง ข้อมูลที่มีการส่งผ่านมาจากเว็บไซต์ที่ให้บริการข่าว บล็อก หรือข้อมูลต่างๆ มาในลักษณะข้อมูลสั้นๆ ในรูปแบบ RSS หรือ Atom.

ใหม่!!: แอรอน สวอตซ์และฟีด · ดูเพิ่มเติม »

การขโมยข้อมูล

การขโมยข้อมูล เป็นปรากฏการณ์ที่กำลังเพิ่มขึ้น โดยเกิดจากการที่ผู้ดูแลระบบและพนักงานออฟฟิศ ที่สามารถเข้าถึงเทคโนโลยี เช่น เซิร์ฟเวอร์ฐานข้อมูล คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ รวมไปถึงจำนวนที่เพิ่มขึ้นของอุปกรณ์พกพาที่สามารถเก็บข้อมูลดิจิทัล เช่น ยูเอสบีแฟลชไดรฟ์ ไอพอด และกล้องดิจิทัล โดยปกติแล้วพนักงานได้ใช้เวลาในการร่างสัญญา และข้อมูลของบริษัทที่เป็นความลับหรือมีลิขสิทธิ์ ดังนั้นเหล่าพนักงานอาจรู้สึกว่าพวกเขามีสิทธิ์บางส่วนต่อข้อมูลเหล่านั้น และอาจคัดลอก หรือ/และ ลบ บางส่วนของข้อมูลเหล่านั้นตอนออกจากบริษัท หรือแม้กระทั่งใช้ข้อมูลเหล่านั้นในทางผิดๆขณะถูกจ้าง บางครั้ง ลูกจ้างอาจเลือกที่จะใช้ความไว้วางใจในการเข้าถึงข้อมูลในทางที่ผิด และใช้ข้อมูลเหล่านั้นในการเปิดโปงการประพฤติที่ไม่เหมาะสมของผู้ว่าจ้าง จากมุมมองของสังคมแล้ว การกระทำแบบวิสเซิลโบลว์เออร์นั้นอาจถูกมองในทางบวก และยังถูกปกป้องโดยกฎหมายในบางเขตอำนาจศาลเช่นในสหรัฐอเมริกา ในขณะที่องค์กรส่วนใหญ่ได้นำไฟร์วอลล์ และระบบการตรวจสอบผู้บุกรุก มาใช้ มีไม่กี่องค์กรที่ที่คำนึงถึงอันตรายจากลูกจ้างซึงคัดลอกข้อมูลที่เป็นทรัพย์สิน และนำไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวหรือเพื่อบริษัทอื่น ตัวอย่างที่พบได้โดยทั่วไปคือเมื่อพนักงานขายได้คัดลอกฐานข้อมูลการติดต่อของลูกค้าไว้เพื่อใช้ในอาชัพต่อไป ปกติแล้วนี่จะถือว่าเป็นการละเมิดสัญญาว่าจ้างอย่างชัดเจน  เชลซี แมนนิง เอ็ดเวิร์ด สโนว์เดน และ Hervé Falciani การขโมยข้อมูลที่เป็นที่รู้จัก เป็นตัวอย่างของบุคคลที่อ้างตัวเองเป็นวิสเซิลโบลว์เออร์และทำการขโมยข้อมูล คำว่าการขโมยข้อมูล จริงๆแล้วเป็นชื่อไม่เหมาะสม ด้วยความที่การขโมยข้อมูลนั้นไม่เหมือนกับการขโมยของโจร ตรงที่ข้อมูลที่ถูกขโมยนั้นเป็นการสร้างสำเนาโดยไม่ได้รับการอนุญาต และเจ้าของข้อมูลนั้นยังยังเข้าถึงข้อมูลได้.

ใหม่!!: แอรอน สวอตซ์และการขโมยข้อมูล · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลิสป์

ษาลิสป์ (Lisp Programming Language) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ขั้นสูง นอกจากนำไปใช้ในการเขียนโปรแกรมทั่วไปแล้วยังสามารถใช้ได้ดีในการประมวลผลสัญลักษณ์ ดังนั้นจึงถูกใช้อย่างแพร่หลายทางด้านปัญญาประดิษฐ์ นอกจากนี้ ในภาษาลิสป์ ไม่จำเป็นต้องประกาศชนิดตัวแปรที่ใช้ในโปรแกรม ดังนั้นจึงง่ายในการเขียนและเรียนรู้.

ใหม่!!: แอรอน สวอตซ์และภาษาลิสป์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไพทอน

ษาไพทอน (Python programming language) เป็นภาษาระดับสูง.

ใหม่!!: แอรอน สวอตซ์และภาษาไพทอน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด

ในมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด (Stanford University อ่านว่า สแตนเฟิร์ด) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า มหาวิทยาลัยลีแลนด์สแตนฟอร์ดจูเนียร์ (Leland Stanford Junior University) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ตั้งอยู่ที่เมือง สแตนฟอร์ด รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา อยู่ห่างจากซานฟรานซิสโกประมาณ 60 กม.

ใหม่!!: แอรอน สวอตซ์และมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard University อ่านว่า ฮารฺเวิรฺด) มหาวิทยาลัยเอกชนในเมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกาได้ขึ้นชื่อว่าเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงของโลก แห่งหนึ่งและเป็นหนึ่งมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดของสหรัฐอเมริกา โดยก่อตั้งเมื่อปี 8 กันยายน พ.ศ. 2179 (ค.ศ. 1636) มีอายุครบ 370 ปีใน พ.ศ. 2549 ฮาร์วาร์ดเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยในกลุ่มไอวีลีก โดยในปี..

ใหม่!!: แอรอน สวอตซ์และมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด · ดูเพิ่มเติม »

มาร์กดาวน์

มาร์กดาวน์ (Markdown) คือรูปแบบภาษามาร์กอัปสำหรับแก้ไขหน้าเว็บ คิดค้นขึ้นโดย จอห์น กรูเบอร์ และ อารอน สวาร์ตซ เป็นภาษาที่อนุญาตให้ผู้เขียนใช้รูปแบบการจัดเนื้อหาที่ ง่ายต่อการอ่าน และง่ายต่อการเขียน จากนั้นตัวภาษาจะแปลงคำสั่งเหล่านี้เป็นภาษาเอกซ์เอชทีเอ็มแอล (หรือภาษาเอชทีเอ็มแอล) ภาษามาร์คดาวน์ได้รับส่วนใหญ่มาจากรูปแบบการจัดการเนื้อหาที่ใช้ในอีเมลทั่วไป.

ใหม่!!: แอรอน สวอตซ์และมาร์กดาวน์ · ดูเพิ่มเติม »

ระบบจัดการเนื้อหา

ระบบจัดการเนื้อหา (Content management system, CMS) คือระบบซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ที่ใช้เพื่อจัดระเบียบ และส่งเสริมการทำงานในหมู่คณะ ให้สามารถสร้างเอกสาร หรือเนื้อหาสาระอื่นๆ โดยมากแล้ว ระบบจัดการเนื้อหา มักจะเป็นเว็บแอปพลิเคชัน ซึ่งใช้จัดการเว็บไซต์และเนื้อหาบนเว็บ และมีไม่น้อยที่ระบบจัดการเนื้อหาต้องใช้ซอฟต์แวร์พิเศษบนเครื่องเครื่องลูกข่าย เพื่อใช้แก้ไขและสร้างบทความต่างๆ ระบบจัดการเนื้อหา ในตลาดซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์มีทั้งแบบที่ทำเพื่อการค้าและแบบ โอเพนซอร์ส เนื้อหาที่อยู่บนระบบอาจจะเป็นเนื้อหาที่เป็น ข้อความตัวอักษร ไฟล์รูปภาพ ไฟล์เสียง ไฟล์ภาพเคลื่อนไหว ไฟล์วิดีโอ หรือไฟล์เอกสารอื่นๆ ก็ได้.

ใหม่!!: แอรอน สวอตซ์และระบบจัดการเนื้อหา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐอิลลินอยส์

รัฐอิลลินอยส์ (Illinois, ออกเสียงเหมือน อิล-ลิ-นอย โดยไม่มีเสียง s) ตั้งอยู่ทางตอนกลางของสหรัฐอเมริกา ชื่ออิลลินอยส์ตั้งโดยนักสำรวจชาวฝรั่งเศส ตามชื่อกลุ่มชาวอินเดียนแดงที่เรียกตัวเองว่า อไลไนเว็ก (Illiniwek) เมืองหลวงของอิลลินอยส์คือ สปริงฟิลด์ เมืองที่มีชื่อเสียงในรัฐอิลลินอยส์ได้แก่ ชิคาโก รหัสย่อของรัฐอิลลินอยส์คือ IL อิลลินอยส์เป็นที่รู้จักในรัฐข้าวโพด เป็นที่ตั้งของเมืองชิคาโก สถานศึกษาที่มีชื่อเสียงได้แก.

ใหม่!!: แอรอน สวอตซ์และรัฐอิลลินอยส์ · ดูเพิ่มเติม »

ร่างรัฐบัญญัติหยุดยั้งการละเมิดลิขสิทธิ์ออนไลน์

ร่างรัฐบัญญัติหยุดยั้งการละเมิดลิขสิทธิ์ออนไลน์ (Stop Online Piracy Act, เรียกโดยย่อว่า "SOPA"), หรือรหัสว่า เอ.อาร.

ใหม่!!: แอรอน สวอตซ์และร่างรัฐบัญญัติหยุดยั้งการละเมิดลิขสิทธิ์ออนไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

ลอว์เรนซ์ เลสสิก

Lawrence Lessig ลอว์เรนซ์ เลสสิก (Lawrence Lessig) (เกิด 3 มิถุนายน พ.ศ. 2504) เป็นนักวิชาการชาวอเมริกัน ปัจจุบันดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์กฎหมาย ที่วิทยาลัยกฎหมายสแตนฟอร์ด และเป็นผู้ก่อตั้ง ศูนย์เพื่ออินเทอร์เน็ตและสังคม (Center for Internet and Society) ของวิทยาลัย เขาเป็นที่รู้จักมากที่สุดในฐานะผู้สนับสนุนให้ลดข้อจำกัดกฎหมายเรื่องลิขสิทธิ์ เครื่องหมายการค้า และแถบความถี่คลื่นวิทยุ โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับการประยุกต์กับเทคโนโลยี.

ใหม่!!: แอรอน สวอตซ์และลอว์เรนซ์ เลสสิก · ดูเพิ่มเติม »

วารสารวิชาการ

วารสารวิชาการทางวิทยาศาสตร์นับเป็นวาสารวิชาการสาขาหนึ่ง วารสารวิชาการ (academic / scientific / scholarly journal) หมายถึงวารสารที่ตีพิมพ์เป็นระยะอย่างสม่ำเสมอและจะต้องผ่านการตรวจคุณภาพบทความโดยผู้รู้ในสาขาวิชานั้นๆ หรือที่เรียกวารสารประเภทนี้เป็นการเฉพาะว่าวารสารผ่านการทบทวน (peer-reviewed periodical) วารสารวิชาการเป็นเวทีสำหรับการแนะนำและนำเสนอผลงานค้นคว้าวิจัยใหม่หรือความเห็นทางวิชาการใหม่ๆ เพื่อรับการตรวจสอบและการวิพากษ์วิจารณ์ในหมู่ผู้รู้ด้วยกัน ปกติเนื้อหาสาระในวารสารจะอยู่ในรูปของบทความเสนอ งานวิจัยที่มีความเริ่มแรก บทปริทัศน์ และการวิจารณ์หนังสือ งานตีพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพที่ไม่มีการตรวจรับคุณภาพเรียกโดยทั่วไปว่า นิตยสารวิชาชีพ (professional magazine) คำ วารสารวิชาการ ใช้กับสิ่งตีพิมพ์วิชาการทุกสาขา วารสารเหล่านี้อภิปรายถึงแง่มุมต่างๆ ในเชิงวิชาการของสาขานั้น.

ใหม่!!: แอรอน สวอตซ์และวารสารวิชาการ · ดูเพิ่มเติม »

วิกิพีเดีย

วิกิพีเดีย (Wikipedia, หรือ) เป็นสารานุกรมเนื้อหาเสรีหลายภาษาบนเว็บไซต์ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากมูลนิธิวิกิมีเดีย องค์กรไม่แสวงผลกำไร เนื้อหากว่า 35 ล้านบทความ (เฉพาะวิกิพีเดียภาษาอังกฤษมีเนื้อหากว่า 4.9 ล้านบทความ) เกิดขึ้นจากการร่วมเขียนของอาสาสมัครทั่วโลก ทุกคนที่สามารถเข้าถึงวิกิพีเดียสามารถร่วมแก้ไขได้แทบทุกบทความได้อย่างเสรี โดยมีผู้เขียนประจำราว 100,000 คน จนถึงเดือนเมษายน..

ใหม่!!: แอรอน สวอตซ์และวิกิพีเดีย · ดูเพิ่มเติม »

อาร์เอสเอส

ัญลักษณ์ที่นิยมสำหรับฟีดและอาร์เอสเอส ไออี 7 thumb อาร์เอสเอส (RSS) คือหนึ่งในประเภทเว็บฟีด ซึ่งมีรูปแบบข้อมูลเอกซ์เอ็มแอล ซึ่งใช้สำหรับในการกระจายข้อมูลที่มีการเพิ่มเติม หรือเปลี่ยนแปลงบ่อยจากเว็บไซต์ (web syndication) และบล็อก ซึ่งอาร์เอสเอสสามารถย่อมาจากหลายรูปแบบด้วยกันคือ.

ใหม่!!: แอรอน สวอตซ์และอาร์เอสเอส · ดูเพิ่มเติม »

อินเทอร์เน็ตอาร์ไคฟ์

Internet Archive (Bibliotheca Alexandrina) อินเทอร์เน็ตอาร์ไคฟ์ (Internet Archive) เป็นองค์กรไม่แสวงหากำไรที่เก็บข้อมูลเว็บไซต์ทั่วไปในลักษณะของห้องสมุดดิจิตัล โดยมีสำนักงานตั้งอยู่ที่ เพรซีดีโอ ในซานฟรานซิสโก สหรัฐอเมริกา โดยมีศูนย์ข้อมูลอยู่ที่ ซานฟรานซิสโก เรดวูดซิตี และ เมาน์เทนวิว โดยข้อมูลที่เก็บไว้ได้แก่ภาพหน้าจอของเว็บไซต์ในแต่ละช่วงเวลา และข้อมูลของเว็บไซต์นั้น.

ใหม่!!: แอรอน สวอตซ์และอินเทอร์เน็ตอาร์ไคฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานดรา เอลบัคยาน

อเล็กซานดรา เอลบัคยาน (Александра Асановна Элбакян) เป็น นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ชาวคาซัคสถาน นักเขียนโปรแกรม และผู้สร้างเว็บไซต์ไซ-ฮับ (Sci-hub) เดอะนิวยอร์กไทมส์ เปรียบเทียบเธอกับเอ็ดเวิร์ด สโนว์เดน ในการปล่อยข้อมูล ด้วยความที่เธอหนีกฎหมายอเมริกาโดยย้ายไปอยู่ที่ประเทศรัสเซีย อาร์เทคนิกาเปรียบเทียบเธอกับแอรอน สวอตซ.

ใหม่!!: แอรอน สวอตซ์และอเล็กซานดรา เอลบัคยาน · ดูเพิ่มเติม »

ครีเอทีฟคอมมอนส์

รีเอทีฟคอมมอนส์ ครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons: CC) เป็นองค์กรไม่แสวงกำไรที่สนับสนุนการใช้เนื้อหาโดยไม่ถูกจำกัดจากสัญญาอนุญาต สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์จะเอื้อให้มีการใช้สื่อทั้งทางภาพ เสียง ข้อมูล โดยการแบ่งแยกสัญญาอนุญาตย่อยออกสำหรับการแจกจ่ายและการใช้ข้อมูล โดยการอ้างอิงถึงเจ้าของลิขสิทธิ์เดิม ครีเอทีฟคอมมอนส์ก่อตั้งโดย ลอว์เรนซ์ เลสสิก ซึ่งปัจจุบันบริหารงานโดย โจอิจิ อิโต (จอย อิโต).

ใหม่!!: แอรอน สวอตซ์และครีเอทีฟคอมมอนส์ · ดูเพิ่มเติม »

ความเคลื่อนไหวทางอินเตอร์เน็ต

วามเคลื่อนไหวทางอินเทอร์เน็ต (Internet Activism) หรือ การจัดระเบียบรูปแบบของการออนไลน์ การสนับสนุนอิเล็กทรอนิกส์ ความเคลื่อนไหวทางโลกไซเบอร์, E-campaigning และ E-activism คือการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ เช่น อีเมล เว็บไซต์ และโปสการ์ด โดยการเคลื่อนไหวของประชาชนและการส่งข้อมูลท้องถิ่นผู้ชมจำนวนมาก เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตที่ใช้ก่อให้เกิดการระดมทุนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างชุมชน, lobbying และการจัดการ.

ใหม่!!: แอรอน สวอตซ์และความเคลื่อนไหวทางอินเตอร์เน็ต · ดูเพิ่มเติม »

ประสาทวิทยาศาสตร์

ประสาทวิทยาศาสตร์ (Neuroscience) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับ โครงสร้าง (neuroanatomy), หน้าที่, การเจริญเติบโต (neural development), พันธุศาสตร์, ชีวเคมี, สรีรวิทยา, เภสัชวิทยา และพยาธิวิทยาของระบบประสาท นอกจากนี้การศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมและการเรียนรู้ยังถือว่าเป็นสาขาของประสาทวิทยาอีกด้วย การศึกษาทางชีววิทยาของสมองของมนุษย์มีเนื้อหาเกี่ยวโยงกันของสาขาวิชาต่าง ๆ ในหลายระดับ มีตั้งแต่ระดับโมเลกุลไปจนถึงระดับเซลล์ (นิวรอน) ซึ่งมีทั้งระดับการทำงานของกลุ่มของนิวรอนจำนวนน้อย เช่น ในคอลัมน์ของสมองส่วนคอร์เทกซ์ (cortical columns) ไปจนถึงระดับการทำงานของระบบต่าง ๆ ในสมองที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับระบบประสาทการมองเห็น และไปจนถึงระดับการทำงานของระบบขนาดใหญ่ เช่น การทำงานของสมองส่วนซีรีบรัลคอร์เทกซ์ หรือ ซีรีเบลลัม และการทำงานของสมองทั้งหมด ระดับสูงสุดของการศึกษาวิชาประสาทวิทยา คือ การนำวิธีการศึกษาทางประสาทวิทยาไปรวมกับการศึกษาทางปริชานประสาทวิทยาศาสตร์ หรือประสาทวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการรับรู้ (cognitive neuroscience) อันเป็นสาขาวิชาที่พัฒนามาจากวิชา จิตวิทยาการรับรู้ (cognitive psychology) แต่ปัจจุบันได้แยกออกมาเป็นสาขาวิชาหนึ่ง ปริชานประสาทวิทยาศาสตร์เป็นสาขาวิชาที่ทำให้เราเข้าใจการทำงานของจิตใจ (mind) และการมีสติ (consciousness) จากเหตุมายังผล ซึ่งแตกต่างจากการศึกษาทางวิชาจิตวิทยาอันเป็นการศึกษาจากผลมายังเหตุ นักวิทยาศาสตร์บางท่านเชื่อว่าปริชานประสาทวิทยาศาสตร์สามารถอธิบายสิ่งต่าง ๆ เพิ่มเติมจากการศึกษาทางจิตวิทยา และบางทีอาจจะดีกว่าจนกระทั่งมาแทนที่ความรู้ทางจิตวิทยาที่เชื่อกันมาได้ หัวข้อการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับวิชาประสาทวิทยาศาสตร์ อาทิเช่น.

ใหม่!!: แอรอน สวอตซ์และประสาทวิทยาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคาซัคสถาน

อัลมาตี คาซัคสถาน (Қазақстан,; Казахстан) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐคาซัคสถาน (Қазақстан Республикасы; Республика Казахстан) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นที่ครอบคลุมกว้างขวางในทวีปเอเชีย และเป็นสาธารณรัฐในอดีตสหภาพโซเวียต มีพรมแดนติดกับประเทศรัสเซีย สาธารณรัฐประชาชนจีน และประเทศในเอเชียกลาง ได้แก่ คีร์กีซถาน อุซเบกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน และมีชายฝั่งบนทะเลแคสเปียน คาซัคสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต คาซัคสถานเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 9 ของโลก อย่างไรก็ดี มีพื้นที่กึ่งทะเลทราย (steppe) อยู่มาก จึงมีประชากรเป็นอันดับที่ 57 มีประมาณ 6 คน/ตร.กม.

ใหม่!!: แอรอน สวอตซ์และประเทศคาซัคสถาน · ดูเพิ่มเติม »

นครนิวยอร์ก

นครนิวยอร์ก หรือที่นิยมเรียกกันว่า นิวยอร์กซิตี (New York City; NYC) เป็นเมืองใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก เป็นมหานครเอกของโลก จัดได้ว่าเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเงิน วัฒนธรรม บันเทิง ที่สำคัญที่สุดของโลก เป็นเมืองที่มี ตึกระฟ้า ตึกสูงมาก ตลอดระยะเวลา 150 ปี และยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่องค์การสหประชาชาติ นิวยอร์กตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา ประกอบด้วย 5 เขตปกครองที่เรียกว่า โบโรฮ์ (Borough) คือ เดอะบรองซ์ บรูคลิน แมนแฮตตัน ควีนส์ และสแตตัน ไอส์แลนด์ ประชากรรวมทั้งหมดประมาณ 8,274,527 คน ภายในพื้นที่ 790 ตร.กม.

ใหม่!!: แอรอน สวอตซ์และนครนิวยอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ไฮสกูล

นักเรียนไฮสคูลอเมริกันในห้องเรียน ไฮสกูล (high school) เป็นชื่อเรียกระบบการศึกษาภาคบังคับส่วนสุดท้าย มีลักษณะเหมือนกับมัธยมศึกษาตอนปลายในประเทศไทย โดยจะแตกต่างกันในระยะเวลาในการเรียนตั้งแต่ 3-5 ปี ในประเทศต่างๆที่ใช้ระบบไฮสกูล รวมถึง ออสเตรเลีย บราซิล แคนาดา ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ นิวซีแลนด์ ฟิลิปปินส์ สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา ใน อังกฤษ สิงคโปร์ และ ฮ่องกง เรียกว่า "เซเกินแดรีสกูล" (secondary school).

ใหม่!!: แอรอน สวอตซ์และไฮสกูล · ดูเพิ่มเติม »

เวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม

วิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม หรือ ดับเบิลยูทรีซี (World Wide Web Consortium: W3C) คือองค์กรระหว่างประเทศทำหน้าที่จัดระบบมาตรฐานที่ใช้งานบนเวิลด์ไวด์เว็บ (WWW หรือ W3) โดยมีจุดมุ่งหมาย ที่จะเป็นแกนนำทางด้านพัฒนาโพรโทคอล และวิธีการใช้งานสำหรับเวิลด์ไวด์เว็บทั้งหมด นอกจากนี้ทาง W3C มีการบริการทางการศึกษา การพัฒนาซอฟต์แวร์ และเปิดให้ใช้ฟอรัมในการปรึกษาเกี่ยวกับเรื่องเว็บ เวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม นำโดย ทิม เบอร์เนิร์ส-ลี.

ใหม่!!: แอรอน สวอตซ์และเวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม · ดูเพิ่มเติม »

เว็บเชิงความหมาย

ว็บเชิงความหมาย หรือ ซีแมนติกเว็บ (Semantic Web) คือพัฒนาการของเวิลด์ไวด์เว็บซึ่งเกี่ยวข้องกับข้อมูลและการบริการบนเว็บไซต์ โดยสร้างความเป็นไปได้ที่เว็บไซต์จะสามารถเข้าใจถึงความต้องการของผู้ใช้และเครื่องมือที่ใช้บรรจุลงในสารบัญเว็บไซต์ ซึ่งมีที่มาจากเวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม เซอร์ ทิม เบอร์เนิร์ส-ลี มีทัศนคติเกี่ยวกับเว็บว่าเป็นแหล่งรวมการแลกเปลี่ยนข้อมูลและความรู้ เว็บเชิงความหมายโดยแก่นแท้จะบรรจุไปด้วยเซ็ตของหลักของการออกแบบ การทำงานร่วมกัน และความหลากหลายของเทคโนโลยี พื้นฐานบางส่วนของเว็บเชิงความหมายแสดงให้เห็นถึงความเป็นไปได้ที่จะรองรับกับเทคโนโลยีหรือสามารถนำมาใช้ได้จริงในภายภาคหน้า ส่วนอื่นของเว็บเชิงความหมายแสดงถึงลักษณะพิเศษ ซึ่งจะประกอบด้วย Resource Description Framework (RDF) ความหลากหลายของการสับเปลี่ยนของข้อมูล (เช่น RDF/XML, N3, Turtle, N-Triples) และเครื่องหมาย เช่น RDF Schema (RDFS) และ Web Ontology Language (OWL) ซึ่งสิ่งเหล่านี้มุ่งหมายเพื่อเตรียมการถึงส่วนประกอบของการจำกัดความ กำหนดการ และความรู้ที่ได้รั.

ใหม่!!: แอรอน สวอตซ์และเว็บเชิงความหมาย · ดูเพิ่มเติม »

เจสตอร์

JSTOR (ออกเสียงว่า เจสตอร์ ย่อมาจาก Journal Storage แปลว่า หน่วยเก็บวารสาร) เป็นห้องสมุดดิจิทัลที่ตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: แอรอน สวอตซ์และเจสตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Aaron Hillel SwartzAaron Swartzอารอน สวาร์ตซแอรอน สวาร์ตซแอรอน สวาตซ์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »