โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

แม็กนีโตสเฟียร์ของดาวพฤหัสบดี

ดัชนี แม็กนีโตสเฟียร์ของดาวพฤหัสบดี

นามแม่เหล็กของโลกเป็นแม่เหล็กสองขั้วชนิดหนึ่ง ซึ่งมีขั้วด้านหนึ่งอยู่ใกล้ตำแหน่งขั้วโลกเหนือ และขั้วอีกด้านหนึ่งอยู่ใกล้ตำแหน่งขั้วโลกใต้ เส้นที่เชื่อมระหว่างขั้วแม่เหล็กมีความเอียงประมาณ 11.3°  กับแกนการหมุนของโลก สาเหตุของการเกิดสนามแม่เหล็กดูได้ในทฤษฎีไดนาโมDynamo Theory ทฤษฎีไดนาโมDynamo Theory คือ กลไกซึ่งวัตถุท้องฟ้า ใช้ในการสร้างสนามแม่เหล็ก อธิบายถึงกระบวนการที่เกิดจากการหมุนรอบตัวเอง การพา และการเหนี่ยวนำทางไฟฟ้าของของไหล ว่าสามารถดำรงสนามแม่เหล็กเอาไว้ในตลอดช่วงเวลาทางดาราศาสตร์สนามแม่เหล็กนี้  แผ่ออกไปไม่มีที่สิ้นสุด แม้ความเข้มสนาม จะอ่อนลงเรื่อยๆ เมื่ออยู่ห่าง จากแหล่งกำเนิด มีชื่อเรียกว่า แมกนีโตสเฟียร์                         แม็กนีโตสเฟียร์ Magnetosphere คือย่านที่มีแม่เหล็กกำลังสูงรอบ วัตถุทางดาราศาสตร์ โลกมีแม็กนีโตสเฟียร์ครอบอยู่รอบๆ เช่นเดียวกันกับดาวที่มีสนามแม่เหล็กอื่นๆ นอกจากนี้วัตถุท้องฟ้า เช่นดาวแม่เหล็ก ก็มีแมกนีโตสเฟียร์เช่นกัน ลักษณะของแมกนีโตสเฟียร์ของโลกนั้น จะเป็นผลมาจากสนามแม่เหล็กโลก ลมสุริยะและสนามแม่เหล็กระหว่างดาวเคราะห์ ภายในแมกนีโตสเฟียร์ จะมีไอออนและอิเล็กตรอนจากทั้งลมสุริยะและชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ของโลก ซึ่งถูกกักโดยสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้า แก่นโลกมีองค์ประกอบหลักเป็นเหล็ก  แก่นโลกชั้นใน มีความกดดันสูงจึงมีสถานะเป็นของแข็ง ส่วนแก่นชั้นนอก มีความกดดันน้อยกว่าจึงมีสถานะเป็นของเหลวหนืด  แก่นชั้นในมีอุณหภูมิสูงกว่าแก่นชั้นนอก พลังงานความร้อนจากแก่นชั้นใน จึงถ่ายเทขึ้นสู่แก่นชั้นนอกด้วยการพาความร้อน เหล็กหลอมละลายเคลื่อนที่หมุนวนอย่างช้าๆ            โดยที่ชั้นนอกนนั้นจะเป็นบริเวณที่อยู่ห่างจากโลกประมาณ 1.5 เท่าของรัศมีโลก และอนุภาคที่มีมากในบริเวณนี้คือโปรตอนที่มีพลังงานประมาณ 10 - 100 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ ส่วนที่ชั้นนอกนั้นเป็นบริเวณที่อยู่ห่างจากโลกประมาณ 2.5 - 8 เท่าของรัศมีโลก และอนุภาคที่พบมาเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอนที่มีพลังงานต่ำกว่า โดยจะมีพลังงานตั้งแต่             65 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ และไม่เกิน 1 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์   ขั้วแม่เหล็กแบ่งออกได้เป็นสองแบบ คือ        1.

0 ความสัมพันธ์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »