เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

แมซงดูว์รัว

ดัชนี แมซงดูว์รัว

แมซง ดูว์ รัว (Maison du Rois) แปลตามศัพท์ภาษาฝรั่งเศสว่า "บ้านของพระราชา" ในภาษาดัตช์เรียกว่า โบรดฮัส (Broodhuis) แปลว่า "บ้านขนมปัง" เป็นอาคารสำคัญทางประวัติศาสตร์แห่งหนึ่งในจัตุรัสกร็องปลัสแห่งบรัสเซลส์ ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของจัตุรัส ตรงข้ามกับออแตลเดอวีล ตัวอาคารเป็นแบบสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิก แมซง ดูว์ รัว นั้นได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโก โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของกร็องปลัสแห่งบรัสเซลส์ ในปีค.ศ.

สารบัญ

  1. 24 ความสัมพันธ์: บรัสเซลส์พ.ศ. 2310พ.ศ. 2403พ.ศ. 2430พ.ศ. 2541กร็อง-ปลัสการปฏิวัติฝรั่งเศสภาษาฝรั่งเศสภาษาดัตช์มรดกโลกรายพระนามพระมหากษัตริย์สเปนสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิกหอระฆังออแตลเดอวีลอิซาเบลลา คลารา ยูเจเนียแห่งสเปนองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ดยุกแห่งบราบันต์ดัชชีบราบันต์คริสต์ศตวรรษที่ 16ประเทศเบลเยียมนครบรัสเซลส์เออแฌน วียอแล-เลอ-ดุกเนบิวลาอินทรี

บรัสเซลส์

รัสเซลส์ (Brussels), บรูว์แซล (Bruxelles) หรือ บรึสเซิล (Brussel; Brüssel) เรียกอย่างเป็นทางการว่า เขตนครหลวงบรัสเซลส์ หรือ เขตบรัสเซลส์ (All text and all but one graphic show the English name as Brussels-Capital Region.) (Région de Bruxelles-Capitale, Brussels Hoofdstedelijk Gewest) เป็นเมืองหลวงของประเทศเบลเยียม และเป็นศูนย์กลางหรือเมืองหลวงอย่างไม่เป็นทางการของสหภาพยุโรป (อียู) เขตบรัสเซลส์แบ่งการปกครองย่อยเป็นเทศบาลจำนวน 19 แห่ง รวมถึง เทศบาลนครบรัสเซลส์ (City of Brussels) ซึ่งอยู่ใจกลางเขตมีอาณาเขตเพียง 32.61 ตร.กม.

ดู แมซงดูว์รัวและบรัสเซลส์

พ.ศ. 2310

ทธศักราช 2310 ตรงกับคริสต์ศักราช 1767 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ดู แมซงดูว์รัวและพ.ศ. 2310

พ.ศ. 2403

ทธศักราช 2403 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1860.

ดู แมซงดูว์รัวและพ.ศ. 2403

พ.ศ. 2430

ทธศักราช 2430 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1887 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู แมซงดูว์รัวและพ.ศ. 2430

พ.ศ. 2541

ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู แมซงดูว์รัวและพ.ศ. 2541

กร็อง-ปลัส

ัตุรัสหลักแห่งบรัสเซลส์ หรือ กร็อง-ปลัสเดอบรูว์แซล (Grand-Place de Bruxelles) และ โกรเทอมาคท์ (Grote Markt) คือจัตุรัสกลางบรัสเซลส์ซึ่งรายล้อมด้วยเหล่าอาคารเก่าอันสวยงามและกลมกลืนกันทางสถาปัตยกรรม และถือว่าเป็นจัตุรัสที่สวยที่สุดในโลก โดยเฉพาะออแตลเดอวีล (Hôtel de Ville de Bruxelles) และแมซงดูว์รัว (Maison du Roi) จัตุรัสแห่งนี้ถือเป็นบริเวณที่สำคัญที่สุดในการท่องเที่ยวและยังถือเป็นจุดหมายตาที่สำคัญแห่งหนึ่งของเบลเยียมอีกด้วย กร็อง-ปลัสแห่งนี้มีขนาดความกว้าง 68 เมตร ยาว 110 เมตร ในปัจจุบัน จัตุรัสแห่งนี้ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรมโดยองค์การยูเนสโก.

ดู แมซงดูว์รัวและกร็อง-ปลัส

การปฏิวัติฝรั่งเศส

การปฏิวัติฝรั่งเศส (Révolution française) ระหว่าง..

ดู แมซงดูว์รัวและการปฏิวัติฝรั่งเศส

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ.

ดู แมซงดูว์รัวและภาษาฝรั่งเศส

ภาษาดัตช์

ษาดัตช์ (Dutch; Nederlands) เป็นภาษากลุ่มเจอร์แมนิกต่ำที่มีคนพูด 22 ล้านคน ส่วนใหญ่ในประเทศเนเธอร์แลนด์และประเทศเบลเยียม ภาษาดัตช์ที่พูดในเบลเยียมมักเรียกว่าภาษาเฟลมิช และมักจะถือเป็นภาษาที่แยกต่างหากกัน.

ดู แมซงดูว์รัวและภาษาดัตช์

มรดกโลก

ตราสัญลักษณ์ แหล่งมรดกโลก หรือ มรดกโลก (World Heritage Site; Patrimoine Mondial) คือสถานที่ อันได้แก่ ป่าไม้ อนุสาวรีย์ สิ่งก่อสร้างต่างๆ รวมไปถึงเมือง ซึ่งคัดเลือกโดยองค์การยูเนสโกตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู แมซงดูว์รัวและมรดกโลก

รายพระนามพระมหากษัตริย์สเปน

รายพระนามพระมหากษัตริย์สเปน.

ดู แมซงดูว์รัวและรายพระนามพระมหากษัตริย์สเปน

สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิก

วัดโวทิฟ (Votivkirche) เป็นวัดกอทิกใหม่ที่ เวียนนา หอวิคตอเรียที่พระราชวังเวสต์มินสเตอร์ (Victoria Tower, Palace of Westminster) ลอนดอน รายละเอียดกอทิกโดยออกัสตัส พิวจิน (Augustus Pugin สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิก (Neo-Gothic architecture หรือ Gothic Revival architecture) หรีอ สถาปัตยกรรมวิกตอเรีย (Victorian architecture) เป็นสถาปัตยกรรมที่เริ่มราวปี..

ดู แมซงดูว์รัวและสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิก

หอระฆัง

หอระฆังจัตุรมุขในวัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร กรุงเทพมหานคร หอระฆัง คืออาคารประเภทหนึ่งในงานสถาปัตยกรรมไทย ซึ่งก่อสร้างในวัดทุกแห่ง ใช้เป็นอาคารสำหรับแขวนระฆังเพื่อใช้ตีบอกสัญญาณ เวลาแก่พระสงฆ์ในการลงทำวัตรและประกอบกิจของสง.

ดู แมซงดูว์รัวและหอระฆัง

ออแตลเดอวีล

ออแตลเดอวีล (Hôtel de Ville) เป็นสถานที่สำคัญในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ในเขตที่ 4 โดยเป็นศาลาว่าการกรุงปารีส มาตั้งแต่ปี ค.ศ.

ดู แมซงดูว์รัวและออแตลเดอวีล

อิซาเบลลา คลารา ยูเจเนียแห่งสเปน

อิซาเบลลา คลารา ยูเจเนียแห่งสเปน (Isabella Clara Eugenia of Spain) (12 สิงหาคม ค.ศ. 1566 - 1 ธันวาคม ค.ศ. 1633) อิซาเบลลา คลารา ยูเจเนียและพระสวามีอัลเบร็คท์ที่ 7 ดยุกแห่งออสเตรียเป็นประมุขของเนเธอร์แลนด์ของสเปนในกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำและทางตอนเหนือของฝรั่งเศสปัจจุบันร่วมกัน ในหลักฐานทางอักษรบางหลักฐานก็ใช้พระนามว่า “คลารา อิซาเบลลา ยูเจเนีย” อิซาเบลลา คลารา ยูเจเนียผู้ประสูติเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม ค.ศ.

ดู แมซงดูว์รัวและอิซาเบลลา คลารา ยูเจเนียแห่งสเปน

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ

งของยูเนสโก องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization) หรือ ยูเนสโก (UNESCO) เป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ ก่อตั้งโดยได้มีการลงนามในธรรมนูญขององค์การ เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน..

ดู แมซงดูว์รัวและองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ

จักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิคาร์ล (ชาลส์) ที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Karl V; Carlos I or Carlos V; Charles V, 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2043 - 21 กันยายน พ.ศ. 2101) สมัยราชวงศ์ฮับส์บูร์กในสเปนทรงครองราชย์ในนามของพระเจ้าชาร์ลที่ 1 แห่งสเปน เป็นประมุขแห่งดัชชีเบอร์กันดี (ในปี พ.ศ.

ดู แมซงดูว์รัวและจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ดยุกแห่งบราบันต์

กแห่งบราบันต์ หรือ ดยุกแห่งบราบ็อง (Duke of Brabant) เป็นบรรดาศักดิ์ที่จักรพรรดิฟรีดริชที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ทรงสถาปนาให้แก่อ็องที่ 1 โอรสของก็อดฟรีที่ 3 เคานต์แห่งลูแวง (ซึ่งเป็นดยุกแห่งโลธารินเจีย อีกบรรดาศักดิ์หนึ่งด้วย) ซึ่งดัชชีบราบันต์นั้นถูกสถาปนาขึ้นราวปี..

ดู แมซงดูว์รัวและดยุกแห่งบราบันต์

ดัชชีบราบันต์

แผนที่ของดัชชีแห่งบราบองต์ อาณาจักรสมเด็จพระสังฆราชแห่งลีเยช (ค.ศ. 1477) ดัชชีแห่งบราบองต์ (Duchy of Brabant) เป็นดัชชีในประวัติศาสตร์ของกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำในบริเวณที่ในปัจจุบันคือบริเวณบราบองต์เฟล็มมิช, บราบองต์วอลลูน (Walloon Brabant), อันท์เวิร์พ และบรัสเซลส์ ในประเทศเบลเยียม และเลยไปในบริเวณนอร์ธบราบองต์ในเนเธอร์แลนด์ด้วย ในสมัยโรมันโบราณบราบองต์ตั้งอยู่ในบริเวณจังหวัดโรมันชื่อกาลเลียเบลจิคา และเจอร์มาเนียใต้ และเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชนเคลต์จนมาแทนที่ด้วยชนเจอร์มานิคซึ่งเป็นการยุติความมีอำนาจของจักรวรรดิโรมันในบริเวณนี้ เมืองสำคัญของบราบองต์ก็ได้แก่บรัสเซลส์, อันท์เวิร์พ, ลูแวง (Leuven) และ เบรดา ชื่อของบริเวณนี้บันทึกเป็นครั้งแรกในสมัยคาโรลิงเกียนว่า “pagus Bracbatensis” ที่เป็นบริเวณที่ตั้งอยู่ระหว่างแม่น้ำเชลด์ท (Scheldt) และแม่น้ำ Dijle ที่มาจากคำว่า “bracha” ที่แปลว่า “ใหม่” และคำว่า “bant” ที่แปลว่า “บริเวณ”.

ดู แมซงดูว์รัวและดัชชีบราบันต์

คริสต์ศตวรรษที่ 16

ริสต์ศตวรรษที่ 16 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1501 ถึง ค.ศ. 1600 ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 นี้ สเปนและโปรตุเกสได้มีการเดินเรือเพื่อออกไปสำรวจสถานที่ต่างๆ หลังจากที่คริสโตเฟอร์ โคลัมบัสได้ค้นพบโลกใหม.

ดู แมซงดูว์รัวและคริสต์ศตวรรษที่ 16

ประเทศเบลเยียม

ลเยียม (Belgium) หรือชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเบลเยียม (Kingdom of Belgium) เป็นประเทศในยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก ฝรั่งเศส และทะเลเหนือ เบลเยียมเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งของสหภาพยุโรป และเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ เช่นเดียวกับของอีกหลายองค์กรระหว่างประเทศรวมถึงองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ทั้งนี้ ลักษณะของประเทศ ยังคล้ายกับ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์อีกด้วย เบลเยียมมีความหลากหลายทางภาษาค่อนข้างสูง ส่งผลต่อระบบการปกครองที่ค่อนข้างซับซ้อน เบลเยียมแบ่งออกเป็นสองภูมิภาคใหญ่ ๆ ได้แก่ฟลานเดอส์ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาดัตช์ และวัลโลเนีย ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส บรัสเซลส์ เมืองหลวงของเบลเยียม เป็นเขตทวิภาษา ตั้งอยู่ในฟลานเดอส์ นอกจากนี้ยังมีชุมชนที่พูดภาษาเยอรมันในทางตะวันออกของวัลโลเนียด้วย คำว่าเบลเยียม (Belgium ในภาษาอังกฤษ België และ Belgique ในภาษาดัตช์และฝรั่งเศส) มีที่มาจาก Gallia Belgica ซึ่งเป็นจังหวัดในยุคโรมัน มีกลุ่มชาว Belgae อยู่อาศั.

ดู แมซงดูว์รัวและประเทศเบลเยียม

นครบรัสเซลส์

นครบรัสเซลส์ (ฝรั่งเศส: Bruxelles-Ville หรือ Ville de Bruxelles, ดัตช์: Stad Brussel) คือเขตเทศบาลที่มีขนาดที่ใหญ่ที่สุดในเขตเมืองหลวงบรัสเซลส์ และยังถือเป็นเมืองหลวงของประเทศเบลเยียมตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรเบลเยียม คล้ายคลึงกับในกรณีของนครลอนดอน ซึ่งต่างจากกรุงลอนดอน นครบรัสเซลส์ก็ต่างจากกรุงบรัสเซลส์เช่นกัน แต่อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการขยายตัวของเขตตัวเมืองออกไปจากนครบรัสเซลส์นั้นได้หยุดลงในภายหลังโดยกินอาณาเขตถึงปริมณฑลคือ ฮาเริน, ลาเคิน และเนเดอร์-โอเวอร์-เฮมเบกทางทิศเหนือ และจรดเขตถนนหลุยส์ และสวนสาธารณะ บัว เดอ ลา คอมบร์ ทางทิศใต้ นครบรัสเซลส์มีจำนวนประชากรประมาณ 144,784 คน โดยมีบริเวณพื้นที่ทั้งหมด 32.61 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นสัดส่วนความหนาแน่นของประชากรได้ถึง 4,400 คน ต่อ ตารางกิโลเมตร นอกจากนี้ จากการสำรวจพบว่าประชากรกว่า 50,000 คนที่อาศัยอยู่ในนครบรัสเซลส์นั้นเป็นผู้ที่ถือสัญชาติอื่น.

ดู แมซงดูว์รัวและนครบรัสเซลส์

เออแฌน วียอแล-เลอ-ดุก

ออแฌน วียอแล-เลอ-ดุก (Eugène Viollet-le-Duc,; 27 มกราคม ค.ศ. 1814 - 17 กันยายน ค.ศ. 1879) เป็นสถาปนิกและนักทฤษฎีคนสำคัญชาวฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้มีชื่อเสียงจากงานบูรณปฏิสังขรณ์สิ่งก่อสร้างจากยุคกลาง วียอแล-เลอ-ดุกเป็นสถาปนิกผู้มีบทบาทสำคัญของขบวนการสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอธิคในฝรั่งเศสที่อยู่บนพื้นฐานของปรัชญาที่ว่าสถาปัตยกรรมควรจะเป็นสิ่งที่แสดงออกอย่าง “ซื่อตรง” ที่ในที่สุดก็กลายมาเป็นปรัชญาของขบวนการของการฟื้นฟูสถาปัตยกรรมทั้งหมดและเป็นรากฐานของลัทธิสมัยใหม่นิยมที่เริ่มก่อตัวขึ้น.

ดู แมซงดูว์รัวและเออแฌน วียอแล-เลอ-ดุก

เนบิวลาอินทรี

นบิวลาอินทรี (Eagle Nebula; หรือวัตถุท้องฟ้าของเมสสิเยร์หมายเลข 16; M16; หรือ NGC 6611) เป็นกระจุกดาวเปิดอายุน้อยในกลุ่มดาวงู และเป็นหนึ่งในบรรดาวัตถุท้องฟ้าที่มีชื่อเสียง เป็นที่สังเกตเห็นได้ง่าย ผู้ค้นพบคือ ฌอง-ฟิลิปป์ เดอ เชโซส์ (Jean-Philippe de Cheseaux) ในราวปี..

ดู แมซงดูว์รัวและเนบิวลาอินทรี

หรือที่รู้จักกันในชื่อ เมซง ดูว์ รัว