เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 139

ดัชนี แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 139

แซรอสชุดที่ 139 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 139 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 12 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 43 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 9 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.

สารบัญ

  1. 8 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2044สุริยุปราคาสุริยุปราคา 8 เมษายน พ.ศ. 2567ความส่องสว่างของอุปราคานาซาแกมมา (อุปราคา)แซรอสเวลาสากลเชิงพิกัด

พ.ศ. 2044

ทธศักราช 2044 ใกล้เคียงกั.

ดู แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 139และพ.ศ. 2044

สุริยุปราคา

ริยุปราคาเต็มดวง พ.ศ. 2542 สุริยุปราคา หรือ สุริยคราส เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติ เกิดขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลก โคจรมาเรียงอยู่ในแนวเดียวกันโดยมีดวงจันทร์อยู่ตรงกลาง เกิดขึ้นเฉพาะในวันที่ดวงจันทร์มีดิถีตรงกับจันทร์ดับ เมื่อสังเกตจากพื้นโลกจะเห็นดวงจันทร์เคลื่อนเข้ามาบดบังดวงอาทิตย์ โดยอาจบังมิดหมดทั้งดวงหรือบางส่วนก็ได้ ในแต่ละปีสามารถเกิดสุริยุปราคาบนโลกได้อย่างน้อย 2 ครั้ง สูงสุดไม่เกิน 5 ครั้ง ในจำนวนนี้อาจไม่มีสุริยุปราคาเต็มดวงเลยแม้แต่ครั้งเดียว หรืออย่างมากไม่เกิน 2 ครั้ง โอกาสที่จะได้เห็นสุริยุปราคาเต็มดวงสำหรับสถานที่ใดสถานที่หนึ่งบนพื้นโลกนั้นค่อนข้างยาก เนื่องจากสุริยุปราคาเต็มดวงแต่ละครั้งจะเกิดในบริเวณแคบ ๆ ภายในแถบที่เงามืดของดวงจันทร์พาดผ่านเท่านั้น สุริยุปราคาเต็มดวงเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่สวยงาม น่าตื่นเต้น และสร้างความประทับใจแก่คนที่ได้ชม ผู้คนจำนวนมากต่างพากันเดินทางไปยังดินแดนอันห่างไกลเพื่อคอยเฝ้าสังเกตปรากฏการณ์นี้ สุริยุปราคาเต็มดวงเมื่อ..

ดู แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 139และสุริยุปราคา

สุริยุปราคา 8 เมษายน พ.ศ. 2567

ริยุปราคาเต็มดวงจะเกิดในวันที่ 8 เมษายน..

ดู แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 139และสุริยุปราคา 8 เมษายน พ.ศ. 2567

ความส่องสว่างของอุปราคา

วามส่องสว่างของอุปราคา คือ เศษส่วนของเส้นผ่านศูนย์กลางของตัวคราส ทั้งสุริยุปราคาและจันทรุปราคา ระหว่างอุปราคาบางส่วนและวงแหวน ค่าความส่องสว่างของอุปราคาจะอยู่ระหว่าง 0.0 ถึง 1.0 ขณะที่ระหว่างอุปราคาเต็มดวง ค่าความส่องสว่างจะอยู่ที่อย่างน้อยที่สุด 1.0 เสมอ โดยหลักการ ความส่องสว่างคือการคำนวณดังต่อไปนี้: วาดเส้นตรงระหว่างศูนย์กลางของตัวอุปราคาและตัวคราส (หรือ เงา) ตรวจดูว่าเศษส่วนของเส้นภายในตัวอุปราคาที่อยู่ในอุปราคามีขนาดใหญ่เท่าไร; นี่คือความส่องสว่างแบบเรขาคณิตของอุปราคา ถ้าตัวอุปราคาเป็นแบบเต็มดวง สามารถยืดเส้นนี้ออกไปในหนึ่งทิศทางให้ใกล้ขอบของตัวคราส (หรือ เงา) ที่สุดได้ และจะได้ความส่องสว่างแบบเรขาคณิตมากกว่า 1.0 ถ้านั้นไม่ใช่อุปราคา แต่เป็น สถานการณ์หวุดหวิด สามารถยืดเส้นไปทางใกล้ขอบของตัวคราส (หรือ เงา) ที่สุดได้ รวมถึงระยะทางนี้จะเป็นค่าลบ และจะได้ความส่องสว่างแบบเรขาคณิตเป็นลบ การวัดนี้ไม่ควรสับสนกับการคลุมเครือของอุปราคา สิ่งนี้คือเศษส่วนของตัวอุปราคาถูกบดบังโดยตัวคราส ในทางตรงกันข้ามความส่องสว่างของอุปราคา คือ อัตราของเส้นผ่าศูนย์กลางอย่างแท้จริง.

ดู แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 139และความส่องสว่างของอุปราคา

นาซา

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (National Aeronautics and Space Administration) หรือ นาซา (NASA) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 (ค.ศ.

ดู แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 139และนาซา

แกมมา (อุปราคา)

แกมมา (แทนความหมายด้วย γ) ของอุปราคา อธิบายว่าศูนย์กลางเงาของดวงจันทร์หรือโลกปะทะกับสิ่งอื่นเช่นไร ระยะห่าง เมื่อแกนของเงาทรงกรวยผ่านเข้าใกล้ศูนย์กลางโลกหรือดวงจันทร์มากที่สุด คือ สภาพขณะส่วนของรัศมีระนาบศูนย์สูตรของโลก สัญลักษณ์ของแกมมา หมายความว่า สำหรับสุริยุปราคา ถ้าแกนของเงาเคลื่อนผ่านทางเหนือหรือทางใต้ของจุดศูนย์กลางโลก ค่าทางบวกจะหมายถึงทางเหนือ สำหรับจันทรุปราคา มันหมายถึงแกนของเงาของโลกผ่านทางเหนือหรือทางใต้ของดวงจันทร์ ค่าทางบวกจะหมายถึงทางใต้ สำหรับสุริยุปราคา โลก ให้คำจำกัดความว่าครึ่งหนึ่งอันซึ่งมีการสัมผัสกับดวงอาทิตย์ (การเปลี่ยนแปลงนี้ร่วมกับฤดูกาล และไม่สัมพันธ์โดยตรงกับขั้วโลกหรือศูนย์สูตร ดังนั้น จุดศูนย์กลางของโลก คือ ดวงอาทิตย์อยู่ ณ กลางศรีษะโดยตรงไม่ว่าที่ไหนก็ตาม) แผนภาพที่อยู่ติดกันแสดงให้เห็นถึงแกมมาสุริยุปราคา: เส้นที่แดงแสดงถึงระยะห่างที่น้อยที่สุดจากจุดศูนย์กลางของโลก ในกรณีนี้โดยประมาณ 75% ของรัศมีของโลก เพราะว่าเงามืดผ่านทางเหนือจุดศูนย์กลางของโลก แกมมาในตัวอย่างนี้จึงเป็น +0.75 ค่าสัมบูรณ์ของแกมมาเราแบ่งตามการจำแนกความแตกต่างเพียงเล็กน้อยของสุริยุปร.

ดู แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 139และแกมมา (อุปราคา)

แซรอส

แซรอส (saros) คือวงรอบปรากฏของการเกิดคราสซึ่งมีช่วงเวลาประมาณ 18 ปี 11 วัน 8 ชั่วโมง (หรือประมาณ 6585⅓ วัน) สามารถใช้ในการทำนายการเกิดสุริยคราสและจันทรคราสได้ หลังจากเกิดคราสครบ 1 รอบ ดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์จะหวนกลับมาอยู่ในตำแหน่งทางเรขาคณิตเช่นเดิมอีก ลักษณะการเกิดคราสแบบเดิมจะเกิดขึ้นทางทิศตะวันตกของตำแหน่งที่เคยเกิดครั้งก่อน ประวัติการค้นพบแซรอสที่เก่าแก่ที่สุดคือการค้นพบของชาวแคลดีอา (นักดาราศาสตร์ชาวบาบิโลนโบราณ) ในช่วงหลายร้อยปีก่อนคริสตกาล ต่อมามีการค้นพบโดยฮิปปาร์คัส ไพลนี และทอเลมี แต่ด้วยชื่อที่แตกต่างกันออกไป คำว่า "saros" ได้รับการกำหนดขึ้นเป็นครั้งแรกโดยเอ็ดมันด์ ฮัลเลย์ ในปี ค.ศ.

ดู แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 139และแซรอส

เวลาสากลเชิงพิกัด

แผนที่โลกแสดงเขตเวลาในปัจจุบัน เวลาสากลเชิงพิกัด (Coordinated Universal Time; ตัวย่อ: UTC) คือ หน่วยเวลาที่ใช้ในการอ้างอิงการหมุนของโลก โดยใช้เครื่องหมายบวก (+) หรือลบ (-) เทียบจากหน่วยเวลาสากลซึ่งเป็นระบบอ้างอิงจากเวลามาตรฐานกรีนิช (GMT) จุดอ้างอิงของเวลาสากลเชิงพิกัดคือที่ลองจิจูด ที่ 0° ที่ตัดผ่านหอดูดาวหลวงกรีนิชในกรีนิช ลอนดอน สหราชอาณาจักร (และเป็นสาเหตุหลักที่เวลามาตรฐานกรีนิชยังคงมีใช้อยู่ในปัจจุบัน).

ดู แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 139และเวลาสากลเชิงพิกัด