โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

แจงเกิลป็อป

ดัชนี แจงเกิลป็อป

แจงเกิลป็อป (jangle pop) เป็นแนวเพลงย่อยของป็อปร็อก ที่เน้นเสียงกีตาร์ที่แหลมเหมือนระฆัง (มักจะเป็นกีต้าร์ไฟฟ้า 12 สาย) และทำนองเพลงป็อปในทศวรรษ 1960 แม้ว่าวง Everly Brothers และ Searchers จะได้วางรากฐานให้กับแจงเกิลป็อป วงเดอะบีเทิลส์ (The Beatles) และเดอะเบิดส์ (The Byrds) มักให้ถูกให้เครดิตในฐานะผู้ริเริ่มที่ทำให้เสียง "jangly" เป็นที่แพร่หลาย โดยเฉพาะเพลง "Mr.

4 ความสัมพันธ์: ออลมิวสิกอาร์.อี.เอ็ม.ป็อปร็อกเดอะบีเทิลส์

ออลมิวสิก

ออลมิวสิก หรือก่อนหน้านี้เรียก ออลมิวสิกไกด์ เป็นฐานข้อมูลเกี่ยวกับดนตรี มีเจ้าของคือออลมีเดียไกด์ ก่อตั้งในปี 1991 โดยไมเคิล เออร์เลไวน์ เพื่อเป็นไกด์ให้กับผู้บริโภค ออกหนังสือใช้สำหรับอ้างอิงในปี 1992 และหลังจากนั้นเมื่อมีเวิลด์ไวด์เว็บขึ้น ก็มีในโกเฟอร์ เว็บไซต์ออลมิวสิก.คอม เปิดตัวเมื่อปี 1995 เพื่อเป็นเว็บสาธิตเกี่ยวกับฐานข้อมูลด้านลิขสิทธิ์เพลง และข้อมูลอื่น ๆ มากมาย ออลมิวสิกอ้างว่าเป็นฐานข้อมูลดิจิทัลเกี่ยวกับดนตรีที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีเพลง 6 ล้านเพลง รวมถึงมีภาพปก ซึ่งมากกว่า 5 แสนปกทำการสแกนขึ้น ออลมิวสิกให้ข้อมูลต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลแคตาล็อก ประวัติศิลปิน การวิจารณ์อัลบั้ม แนวเพลง ศิลปินใกล้เคียง เพลย์ลิสต์และข้อมูลของไอทูนส์มิวสิกสโตร์, ซูนมาร์เก็ตเพลส, อีมิวสิก, AOL, ยาฮู!, อเมซอน.คอม และเว็บสโตร์เกี่ยวกับเพลงต่าง.

ใหม่!!: แจงเกิลป็อปและออลมิวสิก · ดูเพิ่มเติม »

อาร์.อี.เอ็ม.

อาร.อี.เอ็ม. (R.E.M.) เป็นวงร็อกอเมริกัน ที่ก่อตั้งวงที่เอเธนส์ รัฐจอร์เจีย ในปี 1980 โดย ไมเคิล สไตป์ (ร้องนำ), ปีเตอร์ บัก (กีตาร์), ไมค์ มิลส์ (กีตาร์เบส) และบิลล์ เบอร์รี (กลองและเพอร์คัชชัน) อาร.อี.เอ็ม.

ใหม่!!: แจงเกิลป็อปและอาร์.อี.เอ็ม. · ดูเพิ่มเติม »

ป็อปร็อก

ป็อปร็อก คือแนวเพลงที่ผสมระหว่างแนวป็อปกับร็อก จากหนังสือ American Popular Music อธิบายคำว่าป็อปร็อกไว้ว่า "คือดนตรีร็อกหลากหลายในจังหวะเร็ว เช่นศิลปินอย่าง เอลตัน จอห์น, พอล แม็กคาร์ทนีย์, เอเวอร์รีบราเธอร์ส, ร็อด สจ๊วต, ชิคาโก, ปีเตอร์ แฟรมป์ตัน" ส่วนนักวิจารณ์เพลงที่ชื่อ จอร์จ สตารโรสตินอธิบายว่า คือ แนวเพลงย่อยของป็อป ที่ใช้ท่อนติดหูที่มีการใช้กีตาร์เป็นหลัก ส่วนเนื้อเพลงป็อปร็อกจะดูรองกว่าด้านดนตรี ฟิลิป ออสแลนเดอร์ แสดงความแตกต่างระหว่างป็อปกับร็อกว่า ป็อปร็อกจะดูชัดเจนในอเมริกามากกว่าในสหราชอาณาจักร เขาอ้างว่า ในอเมริกา ป็อปมีรากฐานมาจากเพลงฮัมของคนขาวอย่างเช่น เพอร์รี โคโม ส่วนร็อกจะได้รับอิทธิพลมาจากคนแอฟริกัน-อเมริกัน อย่างดนตรีร็อกแอนด์โรล ออสแลนเดอร์ชี้ว่า แนวความคิดของป็อปร็อกคือการผสมผสานเพลงป็อปกับร็อกที่ดูจะตรงข้ามกัน นอกจากนี้ยังมีนักวิชาการกล่าวว่า เพลงป็อป จะดูไม่จริง ดูเย้ยหยัน ทำเพื่อการค้า ดูเป็นสูตรสำเร็จของการบันเทิง ในทางตรงข้าม ร็อกแสดงความจริง ความจริงใจ ปฏิเสธการค้าขาย โดยเน้นเนื้อหาการแต่งเพลงโดยนักร้อง และวงดนตรี ที่ก่อให้เกิดความเชื่อมโยงกับผู้ฟัง ผู้ดู.

ใหม่!!: แจงเกิลป็อปและป็อปร็อก · ดูเพิ่มเติม »

เดอะบีเทิลส์

อะบีเทิลส์ (The Beatles) เป็นวงร็อกแอนด์โรลจากเมืองลิเวอร์พูล ประเทศอังกฤษ ในปี 1960 ประกอบด้วยสมาชิก ร้องนำและมือกีตาร์ จอห์น เลนนอน ร้องนำและมือเบสพอล แม็กคาร์ตนีย์ มือกีตาร์ จอร์จ แฮร์ริสัน และมือกลอง ริงโก สตาร์ บีเทิลส์ได้รับการยกย่องอย่างกว้างขวางให้เป็นวงร็อกที่มีอิทธิพลที่สุดแห่งยุคและเป็นหนึ่งในวงที่ประสบความสำเร็จมากที่สุด ในตอนเริ่มต้นแนวดนตรีของพวกเขาจะเป็นแบบสกิฟเฟิลและร็อกแอนด์โรล แต่ในเวลาต่อมาบีเทิลส์ก็ได้สรรค์สร้างแนวเพลงอีกหลากหลาย นับแต่ไปจนถึงไซเคเดลิก บางครั้งก็ผสมแนวดนตรีคลาสสิกหรือเครื่องดนตรีแบบอื่นๆ ด้วยกระแสนิยมของบีเทิลส์อย่างสูง จนถึงกลับเรียกกระแสเหล่านี้ว่า "บีเทิลมาเนีย" (Beatlemania) โดยเฉพาะในช่วงยุค 60 - 70 เดอะบีเทิลส์เริ่มสร้างชื่อเสียงจากเล่นคอนเสิร์ตในคลับที่ลิวเวอร์พูลและฮัมบูร์กในช่วง 3 ปีของ 1960 โดยมีเพลงฮิตที่ประสบความสำเร็จครั้งแรกอย่าง "เลิฟมีดู" (Love Me Do) ในช่วงปลายปี 1962 พวกเขาได้ฉายา "เดอะแฟปโฟร์" (the Fab Four) ในขณะที่กระแสบีเทิลมาเนียก็เริ่มเกิดขึ้นมาพปีต่อมา และในช่วงก่อนปี 1964 พวกเขาก็ได้กลายมาเป็นไไแห่งวงการดนตรีนานาชาติ ไกลไปจนถึงตลาดเพลงป๊อปของสหรัฐอเมริกา ในปี 1965 เดอะบีเทิลส์ได้สร้างงานดนตรีที่ได้รับการยกย่องว่าเป็น ชิ้นชเอกทั้งหของนวัตกรรมดนตรีและอิทธิพลทางดนตรีสมัยใหม่ เช่น Rubber Soul (1965), Revolver (1966), Sgt.

ใหม่!!: แจงเกิลป็อปและเดอะบีเทิลส์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Jangle popแจงเกิ้ลป็อป

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »