สารบัญ
31 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2453พ.ศ. 2522พ.ศ. 2525พ.ศ. 2528พ.ศ. 2529พ.ศ. 2531พ.ศ. 2541พ.ศ. 2545พ.ศ. 2546พ.ศ. 2547พ.ศ. 2548พ.ศ. 2550พ.ศ. 2552กิโลเมตรรายชื่อระบบรถไฟในเมืองรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยาน (เอ็มทีอาร์)รถไฟระหว่างเมืองรถไฟรางเบาสายกวนถังสายมาออนชานสายดีสนีย์แลนด์รีสอร์ตสายตงหย่งสายฉวนวันสายซึงวันโอสายไอส์แลนด์สายเวสต์เรลสายเอสเรลสแตนดาร์ดเกจฮ่องกงเกาลูน30 กันยายน
- รถไฟใต้ดินในฮ่องกง
- ระบบขนส่งมวลชนเร็วในทวีปเอเชีย
พ.ศ. 2453
ทธศักราช 2453 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1910 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)และพ.ศ. 2453
พ.ศ. 2522
ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)และพ.ศ. 2522
พ.ศ. 2525
ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.
ดู เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)และพ.ศ. 2525
พ.ศ. 2528
ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)และพ.ศ. 2528
พ.ศ. 2529
ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)และพ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)และพ.ศ. 2531
พ.ศ. 2541
ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)และพ.ศ. 2541
พ.ศ. 2545
ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)และพ.ศ. 2545
พ.ศ. 2546
ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.
ดู เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)และพ.ศ. 2546
พ.ศ. 2547
ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.
ดู เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)และพ.ศ. 2547
พ.ศ. 2548
ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.
ดู เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)และพ.ศ. 2548
พ.ศ. 2550
ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)และพ.ศ. 2550
พ.ศ. 2552
ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.
ดู เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)และพ.ศ. 2552
กิโลเมตร
กิโลเมตร อักษรย่อ กม. (mètre, km) เป็นหน่วยวัดความยาว มีขนาดเท่ากับ 1 × 103 เมตร.
ดู เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)และกิโลเมตร
รายชื่อระบบรถไฟในเมือง
ประเทศที่มีระบบรถไฟในเมือง นครและเมืองที่มีระบบรถไฟในเมือง รายชื่อระบบรถไฟในเมือง (Metro) ของประเทศต่าง ๆ มักจะมีในเมืองใหญ่ที่สำคัญทั่วโลก โดยที่เก่าแก่ที่สุดในโลกอยู่ที่กรุงลอนดอน เปิดใช้เมื่อ พ.ศ.
ดู เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)และรายชื่อระบบรถไฟในเมือง
รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยาน (เอ็มทีอาร์)
รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยาน (เอ็มทีอาร์) เส้นทางรถไฟฟ้าสายหนึ่งของระบบเอ็มทีอาร์ ในฮ่องกง เชื่อมต่อระหว่างใจกลางนครฮ่องกงกับท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง (เป็นเส้นทางเดียวที่เชื่อมต่อ) โดยเส้นทางนี้ไม่ถูกนับว่าเป็นเส้นทางรถไฟใต้ดินเหมือนเส้นทางอื่น ๆ ความถี่ในการเดินรถปกติทุก ๆ 10 นาที และกลางคืน 12 นาที ความเร็ว 130 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ใช้เวลาในการเดินทาง 24 นาที.
ดู เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)และรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยาน (เอ็มทีอาร์)
รถไฟระหว่างเมือง
รถไฟระหว่างเมืองในฮ่องกง รถไฟระหว่างเมือง เป็นขบวนรถไฟด่วนที่มีระยะทางวิ่งยาวกว่าขบวนรถไฟฟ้าชานเมืองและรถไฟประจำภูมิภาค ระยะทางของรถไฟระหว่างเมืองนั้นไม่จำกัดและแตกต่างกันไปตามประเทศต่าง.
ดู เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)และรถไฟระหว่างเมือง
รถไฟรางเบา
รถไฟฟ้ารางเบาในลอสแอนเจลิส รถไฟรางเบา หรือ รถไฟฟ้ารางเบา (Light rail) เป็นระบบขนส่งมวลชนที่ให้บริการในเขตเมือง ขับเคลื่อนโดยใช้ล้อหรือไฟฟ้า และตู้โดยสารที่ใช้จะเท่ากับหรือมากกว่า 1 ตู้ก็ได้ รถไฟฟ้ารางเบา มักถูกจัดให้คล้ายกับรถราง จะแบ่งตามขีดความสามารถในการขนส่งผู้โดยสารจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1 ระบบขนส่งมวลชน Light Rail Transit System LRT เป็นระบบขนส่งมวลชนเบาที่ขนส่ง ทางราง โดยขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้าและวิ่งบนรางเหล็ก มีทั้งที่วิ่งบนท้องถนนและบนเขตทางของตัวเองโดยเฉพาะมีความจุของผู้โดยสารประมาณ 20 000 ถึง 40 000 คน ต่อชั่วโมงต่อทิศทาง 2 ระบบขนส่งมวลชนหนัก Heavy Rail Transit System HRT เรียกกันทั่วไปว่ารถไฟฟ้าขนส่งมวลชนหรือ “ รถไฟฟ้า ” เป็นระบบหนึ่งของยานพาหนะประเภทขนส่งมวลชนที่มีเส้นทางเป็นรางอยู่ใต้ดินหรือรางยกระดับ โดยทั่วไปอาจจะเรียกว่า รถไฟฟ้าใต้ดิน Underground หรือ Subway หรือระบบรางในอุโมงค์ Tube หรือรถไฟลอยฟ้า Elevated Rail เป็นการขนส่งตามเส้นทางที่ไม่เปลี่ยนแปลง และเป็นไปตามตารางเวลา สำหรับความจุของผู้โดยสารประมาณ 40 000 คนต่อชั่วโมงต่อทิศทาง ข้อมูลจาก การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไท.
ดู เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)และรถไฟรางเบา
สายกวนถัง
วันโทง เป็นหนึ่งในสิบเส้นทางของรถไฟฟ้าเอ็มทีอาร์ วิ่งจากสถานีเยามาเต่ย ในเกาลูนตะวันตก ไปยังสถานีทิวเก็งเล็ง เวลาในการเดินทาง 27 นาที สีประจำเส้นทางคือ สีเขียว.
ดู เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)และสายกวนถัง
สายมาออนชาน
มาออนชาน เป็นเส้นทางของรถไฟฟ้าเอ็มทีอาร์ เขตบริหารพิเศษฮ่องกง ในอดีตเคยเป็นส่วนหนึ่งของสายเอสเรล ปัจจุบันมีสีประจำเส้นทางคือสีน้ำตาล.
ดู เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)และสายมาออนชาน
สายดีสนีย์แลนด์รีสอร์ต
ีสนีย์แลนด์รีสอร์ต เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้าเอ็มทีอาร์ เขตบริหารพิเศษฮ่องกง โดยมีสีประจำทางเส้นทางคือสีชมพู โดยตลอดเส้นทางมีเพียง 2 สถานี คือ สถานีซันนีเบย์ และ สถานีดิสนีย์แลนด์รีสอร์ต โดยเชื่อมต่อกับสายทุงชุงที่สถานีซันนีเบย์ ไฟล์:HK Sunny Bay Station Platform 3.jpg|สถานีซันนีเบย์ ไฟล์:Disneyland Resort Station Platform 20130726.jpg|สถานีดิสนีย์แลนด์รีสอร์ต.
ดู เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)และสายดีสนีย์แลนด์รีสอร์ต
สายตงหย่ง
ตงหย่ง เป็นเส้นทางของรถไฟฟ้าเอ็มทีอาร์ มีจำนวน 8 สถานี ใช้เวลาในการเดินทาง 27 นาที แนวเส้นทางจะขนานกับเส้นทางรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยาน สีประจำเส้นทางคือ สีส้ม.
ดู เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)และสายตงหย่ง
สายฉวนวัน
ฉวนวัน เป็นเส้นทางหนึ่งของรถไฟฟ้าเอ็มทีอาร์ โดยเริ่มวิ่งจากสถานีเซ็นทรัล ไปจนถึงสถานีฉวนวัน ซึ่งมีชื่อตามเส้นทาง จำนวนสถานีทั้งหมด 16 สถานี เวลาในการเดินทาง 30 นาที.
ดู เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)และสายฉวนวัน
สายซึงวันโอ
ซึงวันโอ เป็นเส้นทางของรถไฟฟ้าเอ็มทีอาร์ โดยแบ่งเป็น 2 สายย่อย ความถี่ในการให้บริการทุก ๆ 2.7 นาที สีประจำเส้นทางคือสีม่วง.
ดู เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)และสายซึงวันโอ
สายไอส์แลนด์
อส์แลนด์ เป็นหนึ่งในสิบเส้นทางของรถไฟฟ้าเอ็มทีอาร์ เขตบริหารพิเศษฮ่องกง วิ่งจาก สถานีชึงวัน ไปยัง สถานีไชวัน เปิดให้บริการครั้งแรกวันที่ 31 พฤษภาคม..
ดู เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)และสายไอส์แลนด์
สายเวสต์เรล
วสต์เรล เป็นเส้นทางของรถไฟฟ้าเอ็มทีอาร์ สีประจำเส้นทางคือสีม่วงแดง เคยรู้จักกันในชื่อ KCR West Rail (九廣西鐵) ปัจจุบันมีจำนวน 12 สถานี.
ดู เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)และสายเวสต์เรล
สายเอสเรล
อสเรล (東鐵綫) เป็นเส้นทางแรกในสิบเส้นทางของเอ็มทีอาร์ ในเขตฮ่องกง เส้นทางนี้เป็นส่วนหนึ่งของทางรถไฟสายเกาลูน-แคนตัน (KCR) รู้จักกันโดยทั่วไปในชื่อ KCR British Section (九廣鐵路英段) และ KCR East Rail (九廣東鐵).
ดู เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)และสายเอสเรล
สแตนดาร์ดเกจ
แตนดาร์ดเกจ หรือ รางขนาดมาตรฐานยุโรป (European standard gauge)เป็นขนาดความกว้างรางรถไฟที่มีการใช้กันมากที่สุด โดยคิดเป็นประมาณ 60% ของรางรถไฟทั่วโลก ระยะห่างภายในของรางรถไฟมีขนาด 1.435 เมตร (4 ฟุต 8 1/2 นิ้ว) สแตนดาร์ดเกจยังมีชื่อเรียกว่า สตีเฟนซันเกจ ตั้งชื่อตาม จอร์จ สตีเฟนซัน ความกว้าง 1.435 นี้เป็นระยะห่างของล้อรถม้าและเกวียนในสมัยโรมันโบราณ ซึ่งเป็นระยะที่กว้างพอที่จะทำให้ม้า 2 ตัวแบบเรียงหน้ากระดาน สามารถลากจูงรถได้โดยที่ลำตัวไม่เบียดกันเวลาม้าวิ่ง.
ดู เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)และสแตนดาร์ดเกจ
ฮ่องกง
องกง (Hong Kong; 香港) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (Hong Kong Special Administrative Region of the People's Republic of China) เป็นเขตปกครองตนเองริมฝั่งทางใต้ของประเทศจีน ในทางภูมิศาสตร์มีสามเหลี่ยมปากแม่น้ำจูเจียงและทะเลจีนใต้โอบรอบ ฮ่องกงเป็นที่รู้จักในสกายไลน์ (skyline) ขยายและท่าเรือธรรมชาติลึก มีเนื้อที่ 1,104 กม.
ดู เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)และฮ่องกง
เกาลูน
ที่ตั้งของเกาลูน(สีเขียว)ในเขตบริหารพิเศษฮ่องกง(สีเทาอ่อน) เกาลูน (จีนตัวเต็ม: 九龍) เป็นพื้นที่ในเขตบริหารพิเศษฮ่องกง สาธารณรัฐประชาชนจีน.
ดู เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)และเกาลูน
30 กันยายน
วันที่ 30 กันยายน เป็นวันที่ 273 ของปี (วันที่ 274 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 92 วันในปีนั้น.
ดู เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)และ30 กันยายน
ดูเพิ่มเติม
รถไฟใต้ดินในฮ่องกง
- เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)
ระบบขนส่งมวลชนเร็วในทวีปเอเชีย
- เอ็มทีอาร์ (สายรถไฟฟ้า)
หรือที่รู้จักกันในชื่อ MTRเอ็มทีอาร์ (รถไฟฟ้า)