โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เอสทีเอส-100

ดัชนี เอสทีเอส-100

STS-100 เป็นภารกิจสเปซชัทเทิลไปยังสถานีอวกาศนานาชาติด้วยกระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ STS-100 ติดตั้งแขนหุ่นยนต์ Canadarm2 ใน ISS.

9 ความสัมพันธ์: กระสวยอวกาศกระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์รายการภารกิจของกระสวยอวกาศวงโคจรต่ำของโลกศูนย์อวกาศเคนเนดีสถานีอวกาศนานาชาตินาซาเดสตินี (โมดูลของสถานีอวกาศนานาชาติ)Canadarm2

กระสวยอวกาศ

ลัมเบีย STS-1 พ.ศ. 2524 กระสวยอวกาศ (space shuttle) คือ เครื่องบินอวกาศของสหรัฐอเมริกา สร้างขึ้นโดยองค์การนาซ่า (NASA) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า Space Transportation System (STS) ผลิตโดยบริษัท North American Aviation ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของบริษัท Rockwell International สเปซชัทเทิลทะยานขึ้นเหมือนจรวดและไปโคจรรอบโลก มีปีกและตอนกลับสู่โลกจะร่อนลงตามรันเวย์ กระสวยอวกาศสามารถนำมาใช้ได้หลาย ๆ ครั้ง กระสวยอวกาศถูกออกแบบมาให้ใช้งานซ้ำได้ 100 ครั้ง หรือปฏิบัติการได้ 10 ปี โครงการถูกเริ่มขึ้นในท้ายยุค 60 หลังจากนั้นก็มีบทบาทสำคัญในปฏิบัติการที่ต้องใช้คนเข้าร่วมของนาซามาโดยตลอด ส่วนสำคัญของกระสวยอวกาศ เรียกว่า ออร์บิเตอร์ (orbiter หมายถึง ยานโคจร) จะพาลูกเรือและสัมภาระไปยังอวกาศในขณะที่จะส่งกระสวยอวกาศขึ้นไป กระสวยจะอยู่ที่ฐานส่งโดยจะตั้งชี้ขึ้นไปคล้ายจรวด ข้าง ๆ ออร์บิเตอร์จะมีแทงค์น้ำมันขนาดใหญ่ ซึ่งเรียกว่า แทงค์ด้านนอก (External Tank) ซึ่งมันจะเก็บออกซิเจนและไฮโดรเจนในขณะที่มันขึ้นเชื้อเพลิงเหล่านี้จะถูกสูบเข้าไปยังเครื่องยนต์หลัก 3 เครื่อง ของออร์บิเตอร์ นอกจากนี้ยังมีแทงค์ขนาดเล็กที่อยู่ข้าง ๆ ออร์บิเตอร์บนฐานส่งเพื่อให้แรงผลักดันพิเศษในขณะส่งกระสวยขึ้น ซึ่งเรียกว่า Solid Fuel Rocket Booster หรือ SRB ทำงานคล้ายกับจรวดดอกไม้ไฟขนาดใหญ่ เมื่อกระสวยอวกาศทะยานขึ้น หลังจากนั้นประมาณ 2 นาที เชื้อเพลิงในแทงค์เชื้อเพลิง SRB จะหมดลง และตกลงในทะเลกับร่มชูชีพ อัตราความเร็วของกระสวยค่อย ๆ เพิ่มขึ้นจนถึงความเร็วประมาณ 72 ไมล์ จากนั้นเครื่องยนต์หลักจึงหยุดทำงาน และถังเชื้อเพลิงภายนอกซึ่งว่างเปล่าจะถูกปล่อยตกลงสู่ทะเล เครื่องยนต์ของจรวดสองลำจะรับภาระต่อไป ซึ่งเรียกว่า ระบบการยักย้ายการโคจร ในระหว่างการโคจร เมื่อถึงเวลากลับสู่โลก เครื่องยนต์ระบบการยักย้ายการโคจรจะถูกยิงคล้ายกับตอนล่างของจรวด และยานจะหลุดออกจากการโคจร แล้วกลับลงมาสู่บรรยากาศโลกในอัตราความเร็ว 15,900 ไมล์ต่อชั่วโมง (หรือประมาณ 25,700 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) แผ่นกำบังความร้อนข้างใต้กระสวยอวกาศจะเปล่งแสงสีแดงจัดพร้อมกับความร้อนในการกลับเข้ามาสู่โลก แผ่นกระเบื้องพิเศษบนกระสวยอวกาศจะป้องกันลูกเรือและยานอวกาศออร์บิเตอร์จะช้าลงเมื่อเข้ามาถึงบริเวณส่วนล่างของบรรยากาศ จะร่อนลงบนพื้นดินบนรันเวย์ด้วยความเร็วประมาณ 210 ไมล์แล้วภารกิจก็จะจบลง.

ใหม่!!: เอสทีเอส-100และกระสวยอวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์

กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ (Orbiter Vehicle Designation: OV-105) เป็นกระสวยอวกาศลำที่ 5 ขององค์การนาซา สหรัฐอเมริกา หมายเลขประจำยาน คือ OV-105 (กระสวยอวกาศลำอื่นได้แก่ ''ดิสคัฟเวอรี'' และ ''แอตแลนติส'') เอนเดฟเวอร์เป็นกระสวยอวกาศที่นาซาสร้างขึ้นใช้งานเป็นลำสุดท้าย เอนเดฟเวอร์ สร้างขึ้นมาเพื่อใช้ทดแทนกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ ในวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987) เริ่มบินครั้งแรกในวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) ในภารกิจที่ STS-49 ยานเอนเดฟเวอร์ได้รับเลือกให้ปฏิบัติภารกิจสำคัญมากมาย เช่น ปล่อยดาวเทียม เชื่อมต่อกับสถานีอวกาศเมียร์ของรัสเซีย และลำเลียงชิ้นส่วนของสถานีอวกาศนานาชาติ กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ปฏิบัติภารกิจสุดท้ายคือ STS-134 วันที่ 16 พฤษภาคม..

ใหม่!!: เอสทีเอส-100และกระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการภารกิจของกระสวยอวกาศ

รายการนี้เป็นข้อมูลของภารกิจการใช้งานของกระสวยอวกาศที่ถูกสร้างขึ้นมาจนมาถึงปี 2008.

ใหม่!!: เอสทีเอส-100และรายการภารกิจของกระสวยอวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

วงโคจรต่ำของโลก

แสดงทิศทางการยิงวัตถุ และความเป็นไปได้ที่จะเข้าสู่วงโคจร วงโคจรระดับต่างๆ รอบโลก เขตสีเขียวคือเขตวงโคจรต่ำของโลก วงโคจรต่ำของโลก (Low Earth Orbit; LEO) เป็นคำที่ใช้หมายถึงวงโคจรในระดับโลกัสที่ออกจากพื้นผิวโลกไปไม่เกินระดับ 2,000 กิโลเมตร โดยทั่วไประดับที่ยอมรับกันคือที่ความสูงระหว่าง 160-2000 กิโลเมตรเหนือพื้นผิวโลก.

ใหม่!!: เอสทีเอส-100และวงโคจรต่ำของโลก · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์อวกาศเคนเนดี

ูนย์อวกาศ จอห์น เอฟ.

ใหม่!!: เอสทีเอส-100และศูนย์อวกาศเคนเนดี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีอวกาศนานาชาติ

นีอวกาศนานาชาติ (International Space Station, ISS, Междунаро́дная косми́ческая ста́нция, МКС, Station spatiale internationale, SSI) เป็นห้องทดลองและสถานอำนวยความสะดวกสำหรับงานค้นคว้าวิจัยในระดับนานาชาติซึ่งถูกประกอบขึ้นในวงโคจรต่ำของโลก การก่อสร้างเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เอสทีเอส-100และสถานีอวกาศนานาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

นาซา

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (National Aeronautics and Space Administration) หรือ นาซา (NASA) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) ตามรัฐบัญญัติการบินและอวกาศแห่งชาติ เป็นหน่วยงานส่วนราชการ รับผิดชอบในโครงการอวกาศและงานวิจัยห้วงอากาศอวกาศ (aerospace) ระยะยาวของสหรัฐอเมริกา คอยจัดการหรือควบคุมระบบงานวิจัยทั้งกับฝ่ายพลเรือนและฝ่ายทหาร ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 องค์การนาซาได้ประกาศภารกิจหลักคือการบุกเบิกอนาคตแห่งการสำรวจอวกาศ การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ และงานวิจัยทางการบินและอวกาศ คำขวัญขององค์การนาซาคือ "เพื่อประโยชน์ของคนทุกคน" (For the benefit of all).

ใหม่!!: เอสทีเอส-100และนาซา · ดูเพิ่มเติม »

เดสตินี (โมดูลของสถานีอวกาศนานาชาติ)

มดูลห้องปฏิบัติการเดสตินี (นาซา) กำลังติดตั้งบน สถานีอวกาศนานาชาติ เดสตินี (Destiny) เป็นส่วนประกอบหนึ่งของสถานีอวกาศนานาชาติเป็นปฏิบัติการของนาซาแรก ที่โคจรสถานีวิจัยถาวรตั้งแต่ สกายแล็ป ลุกขึ้นในกุมภาพันธ์ 1974.

ใหม่!!: เอสทีเอส-100และเดสตินี (โมดูลของสถานีอวกาศนานาชาติ) · ดูเพิ่มเติม »

Canadarm2

นักบินอวกาศ สตีเฟน เค. โรบินสัน ยึดปลายแขน Canadarm2 ระหว่างเที่ยวบิน STS-114 ระบบซ่อมบำรุงเคลื่อนที่ (Mobile Servicing System หรือ MSS) หรือเป็นที่รู้จักกันมากกว่าในชื่อของชิ้นส่วนหลักของระบบคือ Canadarm2 เป็นระบบแขนกลและอุปกรณ์ประกอบที่ติดตั้งอยู่บนสถานีอวกาศนานาชาติ มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการประกอบชิ้นส่วนและการบำรุงรักษาสถานี โดยการเคลื่อนย้ายอุปกรณ์และเครื่องมือต่างๆ ไปรอบสถานี การสนับสนุนการทำงานในอวกาศของนักบินอวกาศ และการบำรุงรักษาเครื่องมือวัดหรือชิ้นส่วนอื่นๆ ที่ติดตั้งอยู่กับสถานีอวกาศ นักบินอวกาศต้องผ่านการฝึกฝนเป็นพิเศษเพื่อทำการควบคุมเครื่องมือนี้ในการจัดการกับระบบต่างๆ ระบบ MMS ประกอบด้วยแขนกลหลักที่เรียกว่า Space Station Remote Manipulator (SSRMS), Mobile Remote Servicer Base System (MBS) และ Special Purpose Dexterous Manipulator (SPDM บางครั้งก็เรียกว่า Dextre หรือ แขนแคนาดา) ระบบแขนกลต่างๆ จะเคลื่อนที่ไปตามรางที่ติดตั้งอยู่บนยอดของสถานีอวกาศนานาชาติ ซอฟต์แวร์ควบคุมการทำงานเขียนขึ้นด้วยภาษาเอดา ระบบบริการเคลื่อนที่ได้รับการออกแบบและก่อสร้างภายใต้โครงการอวกาศ MDA (เดิมคือระบบหุ่นยนต์ MD) ขององค์การอวกาศแคนาดา ในฐานะส่วนสนับสนุนหนึ่งในโครงการสถานีอวกาศนานาชาต.

ใหม่!!: เอสทีเอส-100และCanadarm2 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

STS-100

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »