สารบัญ
11 ความสัมพันธ์: กลุ่มดาวท้ายเรือกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์ดวงอาทิตย์ดาวแคระส้มปีแสงแถบดาวเคราะห์น้อยโลกเอชดี 69830 บีเอชดี 69830 ดีเอชดี 69830 ซีเนเจอร์ (วารสาร)
- ดาวแคระเหลือง
กลุ่มดาวท้ายเรือ
กลุ่มดาวท้ายเรือ เป็นกลุ่มดาวหนึ่งทางซีกโลกใต้ เป็นส่วนที่ใหญ่ที่สุดจากการแบ่งกลุ่มดาวเรืออาร์โก หมวดหมู่:กลุ่มดาว หมวดหมู่:กลุ่มดาวเรืออาร์โก หมวดหมู่:กลุ่มดาวท้ายเรือ.
ดู เอชดี 69830และกลุ่มดาวท้ายเรือ
กล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์
กล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์ (Spitzer Space Telescope) หรือเดิมชื่อ Space Infrared Telescope Facility (SIRTF) เป็นกล้องสังเกตการณ์อวกาศอินฟราเรด เป็นกล้องอันดับที่สี่และสุดท้ายของโครงการหอดูดาวเอกของนาซา ตั้งชื่อตาม ดร.
ดู เอชดี 69830และกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์
ดวงอาทิตย์
วงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ ณ ใจกลางระบบสุริยะ เป็นพลาสมาร้อนทรงเกือบกลมสมบูรณ์ โดยมีการเคลื่อนท่พาซึ่งผลิตสนามแม่เหล็กผ่านกระบวนการไดนาโม ปัจจุบันเป็นแหล่งพลังงานสำคัญที่สุดสำหรับสิ่งมีชีวิตบนโลก มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.39 ล้านกิโลเมตร ใหญ่กว่าโลก 109 เท่า และมีมวลประมาณ 330,000 เท่าของโลก คิดเป็นประมาณ 99.86% ของมวลทั้งหมดของระบบสุริยะ มวลประมาณสามในสี่ของดวงอาทิตย์เป็นไฮโดรเจน ส่วนที่เหลือเป็นฮีเลียมเป็นหลัก โดยมีปริมาณธาตุหนักกว่าเล็กน้อย รวมทั้งออกซิเจน คาร์บอน นีออนและเหล็ก ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ลำดับหลักระดับจี (G2V) ตามการจัดประเภทดาวฤกษ์ ซึ่งเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า "ดาวแคระเหลือง" ดวงอาทิตย์เกิดเมื่อประมาณ 4.6 พันล้านปีก่อนจากการยุบทางความโน้มถ่วงของสสารภายในบริเวณเมฆโมเลกุลขนาดใหญ่ สสารนี้ส่วนใหญ่รวมอยู่ที่ใจกลาง ส่วนที่เหลือแบนลงเป็นแผ่นโคจรซึ่งกลายเป็นระบบสุริยะ มวลใจกลางร้อนและหนาแน่นมากจนเริ่มเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่น ณ แก่น ซึ่งเชื่อว่าเป็นกระบวนการเกิดดาวฤกษ์ส่วนใหญ่ ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณครึ่งอายุขัย ไม่มีการเปลี่ยนแปลงมากนักเป็นเวลากว่า 4 พันล้านปีมาแล้วและจะค่อนข้างเสถียรไปอีก 5 พันล้านปี หลังฟิวชันไฮโดรเจนในแก่นของมันลดลงถึงจุดที่ไม่อยู่ในดุลยภาพอุทกสถิตต่อไป แก่นของดวงอาทิตย์จะมีความหนาแน่นและอุณหภูมิเพิ่มขึ้นส่วนชั้นนอกของดวงอาทิตย์จะขยายออกจนสุดท้ายเป็นดาวยักษ์แดง มีการคำนวณว่าดวงอาทิตย์จะใหญ่พอกลืนวงโคจรปัจจุบันของดาวพุทธและดาวศุกร์ และทำให้โลกอาศัยอยู่ไม่ได้ มนุษย์ทราบความสำคัญของดวงอาทิตย์ที่มีโลกมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และบางวัฒนธรรมถือดวงอาทิตย์เป็นเทวดา การหมุนของโลกและวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ของโลกเป็นรากฐานของปฏิทินสุริยคติ ซึ่งเป็นปฏิทินที่ใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน.
ดาวแคระส้ม
วแคระส้ม (orange dwarf) หรือ ดาวแคระ K (orange dwarf) มีชื่อเป็นทางการว่า ดาวฤกษ์แถบลำดับหลักประเภท K (K-type main-sequence star) เป็นดาวฤกษ์ในแถบลำดับหลักซึ่งมีชนิดสเปกตรัมเป็นแบบ K และความส่องสว่างในระดับ V ดาวเหล่านี้เป็นตัวกลางขนาดระหว่างดาวฤกษ์แถบลำดับหลักประเภท M สีแดง และดาวฤกษ์แถบลำดับหลักประเภท G สีเหลือง มีมวล 0.6-0.9 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ และอุณหภูมิพื้นผิวอยู่ระหว่าง 3,900 และ 5,200 เคลวิน ตัวอย่างดาวที่รู้จักกันดี เช่น อัลฟาคนครึ่งม้า และเอปไซลอน อินเดียนแดง, G.
ปีแสง
ปีแสง (อังกฤษ: light-year) คือ หน่วยของระยะทางในทางดาราศาสตร์ 1 ปีแสง เท่ากับระยะทางที่แสงเดินทางในเวลา 1 ปี จากอัตราเร็วแสงที่มีค่า 299,792,458 เมตร/วินาที ระยะทาง 1 ปีแสงจึงมีค่าประมาณ 9.4607 กิโลเมตร.
แถบดาวเคราะห์น้อย
กราฟิกแสดงอาณาเขตของแถบดาวเคราะห์น้อย แถบดาวเคราะห์น้อย (Asteroid belt) เป็นบริเวณในระบบสุริยะที่อยู่ระหว่างวงโคจรของดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี ประกอบไปด้วยวัตถุรูปร่างไม่แน่นอนจำนวนมาก เรียกว่าดาวเคราะห์น้อย (asteroid หรือ minor planet) บางครั้งก็เรียกแถบดาวเคราะห์น้อยว่า "แถบหลัก" เพื่อแยกแยะมันออกจากดาวเคราะห์น้อยกลุ่มอื่น ๆ ที่มีอยู่ในระบบสุริยะ เช่น แถบไคเปอร์ มวลกว่าครึ่งหนึ่งของแถบดาวเคราะห์น้อยอยู่ในดาวเคราะห์น้อยที่มีขนาดใหญ่ที่สุด 4 ดวง ได้แก่ ซีรีส, เวสตา, พัลลัส และไฮเจีย ทั้งสี่ดวงนี้มีเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยมากกว่า 400 กิโลเมตร สำหรับซีรีสซึ่งถือเป็นดาวเคราะห์แคระเพียงดวงเดียวในแถบดาวเคราะห์น้อย มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 950 กิโลเมตรKrasinsky, G.
ดู เอชดี 69830และแถบดาวเคราะห์น้อย
โลก
"เดอะบลูมาร์เบิล" ภาพถ่ายดาวเคราะห์โลกจากยาน ''อพอลโล 17'' โลก (loka; world) มีความหมายโดยปริยายหมายถึงหมู่มนุษย์ รวมทั้งอารยธรรมมนุษย์โดยรวมทั้งหมด โดยเฉพาะในด้านประสบการณ์ ประวัติศาสตร์ หรือสภาพของมนุษย์โดยทั่ว ๆ ไป ทั้งนี้ คำว่า ทั่วโลก หมายถึงสถานที่ใด ๆ บนดาวเคราะห์โลก ในทางปรัชญามองโลกอยู่ 2 แบบ คือ.
เอชดี 69830 บี
อชดี 69830 บี (HD 69830 b) เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่มีมวลเนปจูน หรือ ซูเปอร์เอิร์ธ ที่โคจรรอบดาวฤกษ์เอชดี 69830 ดาวเคราะห์ดวงนี้มีมวล 10 เท่า มากกว่าโลก ทำให้มันมีขนาดใหญ่น้อยที่สุดในระบบ นอกจากนี้ยังมีวงโคจรที่ค่อนข้างใกล้กับดาวฤกษ์แม่ของตนและใช้เวลา 82/3 วันในการโคจร เป็นดาวเคราะห์หินไม่ใช้ดาวแก๊สยักษ.
ดู เอชดี 69830และเอชดี 69830 บี
เอชดี 69830 ดี
อชดี 69830 ดี (HD 69830 d) เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่โคจรรอบๆ ดาวแคระส้ม เอชดี 69830 ใช้เวลา 197 วัน เป็นดาวเคราะห์ที่รู้จักกันชั้นนอกสุดในระบบดาวเคราะห์ และอาจจะอยู่ภายในเขตอาศัยได้ ค้นพบในวันที่ 18 พฤษภาคม ค.ศ.
ดู เอชดี 69830และเอชดี 69830 ดี
เอชดี 69830 ซี
อชดี 69830 ซี เป็นดาวเคราะห์นอกระบบดวงที่ 2 ที่โคจรรอบดาวฤกษ์เอชดี 69830 เป็นดาวเคราะห์หินที่ไม่ใช้ดาวแก๊สยักษ.
ดู เอชดี 69830และเอชดี 69830 ซี
เนเจอร์ (วารสาร)
วารสาร''เนเจอร์''ฉบับแรก วันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1869 เนเจอร์ เป็นวารสารวิชาการทางวิทยาศาสตร์ ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน..
ดู เอชดี 69830และเนเจอร์ (วารสาร)
ดูเพิ่มเติม
ดาวแคระเหลือง
- 47 หมีใหญ่
- 51 ม้าบิน
- ดวงอาทิตย์
- ดาวแคระเหลือง
- เคปเลอร์-10
- เคปเลอร์-11
- เอชดี 147018
- เอชดี 69830
- แอลฟาคนครึ่งม้า
หรือที่รู้จักกันในชื่อ HD 69830