เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

เหตุปะทะชายแดนไทย–เวียดนาม

ดัชนี เหตุปะทะชายแดนไทย–เวียดนาม

หตุปะทะชายแดนไทย-เวียดนามเกิดขึ้นเมื่อกำลังทหารเวียดนามบุกเข้ากัมพูชาเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม..

สารบัญ

  1. 17 ความสัมพันธ์: พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุพล พตกัมพูชาประชาธิปไตยสมเด็จอัครมหาพญาจักรี เฮง สัมรินสมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซนสหภาพโซเวียตสงครามกัมพูชา–เวียดนามสงครามเย็นสงครามเวียดนามอ่าวไทยจังหวัดพระตะบองซอน ซานแนวร่วมปลดปล่อยชาติเขมรเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์เขมรแดงเขียว สัมพันเปรม ติณสูลานนท์

  2. การบุกครอง
  3. ความสัมพันธ์ทางการทหารไทย–เวียดนาม
  4. ประวัติศาสตร์การทหารของเวียดนาม
  5. ประเทศไทยในคริสต์ศตวรรษที่ 20
  6. สงครามเกี่ยวข้องกับเวียดนาม
  7. สงครามเกี่ยวข้องกับไทย
  8. เขตแดนกัมพูชา–ไทย

พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ

ระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ (នរោត្ដម សីហនុ; นโรตฺฎม สีหนุ ออกเสียง โนโรด็อม สีหนุ) (31 ตุลาคม พ.ศ. 2465 — 15 ตุลาคม พ.ศ. 2555)  พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 4 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชาตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู เหตุปะทะชายแดนไทย–เวียดนามและพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ

พล พต

ซาลต ซอ (សាឡុត ស สาฬุต สอ) หรือ พล พต (ប៉ុល ពត ปุล พต, ออกเสียง: ปล โปต; 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2468 - 15 เมษายน พ.ศ. 2541) เป็นนักปฏิวัติชาวกัมพูชาที่เป็นผู้นำเขมรแดง ตั้งแต..

ดู เหตุปะทะชายแดนไทย–เวียดนามและพล พต

กัมพูชาประชาธิปไตย

กัมพูชาประชาธิปไตย (កម្ពុជាប្រជាធិបតេយ្យ กมฺพุชาบฺรชาธิบเตยฺย; Democratic Kampuchea) คือ ชื่อของประเทศกัมพูชาระหว่างปี..

ดู เหตุปะทะชายแดนไทย–เวียดนามและกัมพูชาประชาธิปไตย

สมเด็จอัครมหาพญาจักรี เฮง สัมริน

มเด็จอัครมหาพญาจักรี เฮง สัมริน จอมพล สมเด็จอัครมหาพญาจักรี เฮง สัมริน (ស​ម្តេ​ច​អគ្គ​មហា​ពញា​ចក្រី​ ​ហេង​ ​សំ​រិ​ន​ ส​มฺเต​จ​อคฺค​มหา​พญา​จกฺรี​ ​เหง​ ​สํ​ริ​น​; เกิด ค.ศ.

ดู เหตุปะทะชายแดนไทย–เวียดนามและสมเด็จอัครมหาพญาจักรี เฮง สัมริน

สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน

อมพล สมเด็จอัคคมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน (សម្តេចអគ្គមហាសេនាបតីតេជោ ហ៊ុន សែន สมฺเตจอคฺคมหาเสนาบตีเตโช หุน แสน ออกเสียง ฮุน แซน, 4 เมษายน พ.ศ.

ดู เหตุปะทะชายแดนไทย–เวียดนามและสมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน

สหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..

ดู เหตุปะทะชายแดนไทย–เวียดนามและสหภาพโซเวียต

สงครามกัมพูชา–เวียดนาม

งครามกัมพูชา-เวียดนามเป็นความขัดแย้งด้วยอาวุธระหว่างสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามและกัมพูชาประชาธิปไตย สงครามเริ่มขึ้นด้วยการปะทะตามพรมแดนทางบกและทางทะเลของเวียดนามและกัมพูชาระหว่าง..

ดู เหตุปะทะชายแดนไทย–เวียดนามและสงครามกัมพูชา–เวียดนาม

สงครามเย็น

กำแพงเบอร์ลินจากฝั่งตะวันตก กำแพงถูกสร้างใน ค.ศ. 1961 เพื่อป้องกันมิให้ชาวเยอรมันตะวันออกหนีและหยุดการหลั่งไหลของแรงงานซึ่งเป็นภัยพิบัติทางเศรษฐกิจ มันเป็นสัญลักษณ์ของสงครามเย็นและการทลายกำแพงใน ค.ศ.

ดู เหตุปะทะชายแดนไทย–เวียดนามและสงครามเย็น

สงครามเวียดนาม

งครามเวียดนาม หรือ สงครามอินโดจีนครั้งที่สอง หรือที่ชาวเวียดนามรู้จักกันในชื่อ สงครามอเมริกา เป็นสงครามตัวแทนสมัยสงครามเย็นที่เกิดขึ้นในประเทศเวียดนาม ลาวและกัมพูชาตั้งแต่เดือนธันวาคม 2498 กระทั่งกรุงไซ่ง่อนแตกเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2518 สงครามเวียดนามนี้เกิดขึ้นหลังสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง และมีเวียดนามเหนือซึ่งได้รับการสนับสนุนจากจีน สหภาพโซเวียตและพันธมิตรคอมมิวนิสต์อื่นเป็นคู่สงครามฝ่ายหนึ่ง กับรัฐบาลเวียดนามใต้ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐและประเทศที่ต่อต้านคอมมิวนิสต์อื่นเป็นคู่สงครามอีกฝ่ายหนึ่ง เวียดกง (หรือ แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติ) เป็นแนวร่วมประชาชนคอมมิวนิสต์เวียดนามใต้ที่ติดอาวุธเบาซึ่งมีเวียดนามเหนือสั่งการ สู้รบในสงครามกองโจรต่อกำลังต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค กองทัพประชาชนเวียดนาม (กองทัพเวียดนามเหนือ) ต่อสู้ในสงครามตามแบบมากกว่า และบางครั้งส่งหน่วยขนาดใหญ่เข้าสู่ยุทธการ เมื่อสงครามดำเนินไป ส่วนการต่อสู้ของเวียดกงลดลงขณะที่บทบาทของกองทัพประชาชนเวียดนามเพิ่มขึ้น กำลังสหรัฐและเวียดนามใต้อาศัยความเป็นเจ้าเวหาและอำนาจการยิงที่เหนือกว่าเพื่อดำเนินปฏิบัติการค้นหาและทำลาย ซึ่งรวมถึงกำลังภาคพื้นดิน ปืนใหญ่และการโจมตีทางอากาศ ตลอดห้วงสงคราม สหรัฐดำเนินการทัพทิ้งระเบิดทางยุทธศาสตร์ขนานใหญ่ต่อเวียดนามเหนือ และต่อมาน่านฟ้าเวียดนามเหนือกลายเป็นน่านฟ้าที่มีการป้องกันหนาแน่นที่สุดในโลก รัฐบาลสหรัฐมองว่าการเข้ามามีส่วนในสงครามของตนเป็นหนทางป้องกันการยึดเวียดนามใต้ของคอมมิวนิสต์อันเป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์การจำกัดการขยายตัวของลัทธิที่ไม่พึงปรารถนาที่ใหญ่กว่า โดยมีเป้าหมายที่แถลงไว้เพื่อหยุดการแพร่ของคอมมิวนิสต์ ตามทฤษฎีโดมิโนของสหรัฐ หากรัฐหนึ่งกลายเป็นคอมมิวนิสต์ รัฐอื่นในภูมิภาคก็จะเป็นไปด้วย ฉะนั้น นโยบายของสหรัฐจึงถือว่าการผ่อนปรนการแพร่ของคอมมิวนิสต์ทั่วประเทศเวียดนามนั้นยอมรับไม่ได้ รัฐบาลเวียดนามเหนือและเวียดกงต่อสู้เพื่อรวมเวียดนามอยู่ในการปกครองคอมมิวนิสต์ ทั้งสองมองข้อพิพาทนี้เป็นสงครามอาณานิคม ซึ่งเริ่มแรกสู้กับฝรั่งเศส โดยได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐ แล้วต่อมาสู้กับเวียดนามใต้ ซึ่งถูกมองว่าเป็นรัฐหุ่นเชิดของสหรัฐ ที่ปรึกษาทางทหารชาวอเมริกันมาถึงอินโดจีนขณะนั้นเริ่มตั้งแต่ปี 2493 การเข้ามามีส่วนของสหรัฐเพิ่มขึ้นในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1960 โดยมีระดับทหารเพิ่มเป็นสามเท่าในปี 2494 และเพิ่มอีกสามเท่าในปีต่อมา การเข้ามามีส่วนของสหรัฐทวีขึ้นอีกหลังเหตุการณ์อ่าวตังเกี๋ย ปี 2507 ซึ่งเรือพิฆาตของสหรัฐปะทะกับเรือโจมตีเร็วของเวียดนามเหนือ ซึ่งตามติดด้วยข้อมติอ่าวตังเกี๋ยซึ่งอนุญาตให้ประธานาธิบดีสหรัฐเพิ่มทหารในพื้นที่ หน่วยรบปกติของสหรัฐถูกจัดวางเริ่มตั้งแต่ปี 2498 ปฏิบัติการข้ามพรมแดนระหว่างประเทศ โดยพื้นที่ติดต่อกับประเทศลาวและกัมพูชาถูกกองทัพสหรัฐทิ้งระเบิดอย่างหนักขณะที่การเข้ามามีส่วนในสงครามของสหรัฐเพิ่มขึ้นสูงสุดในปี 2511 ปีเดียวกัน ฝ่ายคอมมิวนิสต์เปิดฉากการรุกตรุษญวน การรุกตรุษญวนไม่สัมฤทธิ์ผลในการโค่นรัฐบาลเวียดนามใต้ แต่ได้กลายเป็นจุดพลิกผันของสงคราม เพราะได้แสดงว่าเวียดนามใต้ไม่อาจป้องกันตัวเองจากเวียดนามเหนือได้ แม้สหรัฐจะทุ่มความช่วยเหลือทางทหารอย่างมหาศาลหลายปี ด้วยจุดชัยชนะของสหรัฐนั้นไม่ชัดเจน จึงค่อย ๆ มีการถอนกำลังภาคพื้นดินของสหรัฐโดยเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายเรียก การแผลงเป็นเวียดนาม (Vietnamization) ซึ่งมุ่งยุติการเข้ามามีส่วนในสงครามของสหรัฐขณะที่โอนภารกิจต่อสู้กับคอมมิวนิสต์ให้เวียดนามใต้เอง แม้ภาคีทุกฝ่ายลงนามข้อตกลงสันติภาพปารีสในเดือนมกราคม 2516 แล้วก็ตาม แต่การสู้รบยังดำเนินต่อไป ในสหรัฐและโลกตะวันตก มีการพัฒนาขบวนการต่อต้านสงครามเวียดนามขนาดใหญ่ขึ้น ขบวนการนี้ทั้งเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมต่อต้าน (Counterculture) แห่งคริสต์ทศวรรษ 1960 และเป็นปัจจัยหนึ่งของมัน การมีส่วนร่วมทางทหารของสหรัฐยุติลงเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2516 อันเป็นผลมาจากคำแปรญัตติเคส–เชิร์ช (Case–Church Amendment) ที่รัฐสภาสหรัฐผ่าน การยึดกรุงไซ่ง่อนโดยกองทัพประชาชนเวียดนามในเดือนเมษายน 2518 เป็นจุดสิ้นสุดของสงคราม และมีการรวมชาติเวียดนามเหนือกับเวียดนามใต้ในปีต่อมา สงครามนี้คร่าชีวิตมนุษย์ไปมหาศาล ประเมินตัวเลขทหารและพลเรือนชาวเวียดนามที่ถูกสังหารมีตั้งแต่น้อยกว่า 1 ล้านคนเล็กน้อย ไปถึงกว่า 3 ล้านคน ชาวกัมพูชาเสียชีวิตราว 2-3 แสนคนHeuveline, Patrick (2001).

ดู เหตุปะทะชายแดนไทย–เวียดนามและสงครามเวียดนาม

อ่าวไทย

อ่าวไทย อ่าวไทย เป็นน่านน้ำที่อยู่ในทะเลจีนใต้ มหาสมุทรแปซิฟิก ล้อมรอบด้วยประเทศไทย มาเลเซีย กัมพูชา และเวียดนาม อ่าวไทยไม่เพียงแต่มีความสำคัญในทางภูมิศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ แต่ยังมีความสำคัญในทางกฎหมายอาญาอย่างยิ่ง โดยถือเป็นอาณาเขตที่ศาลไทยมีอำนาจพิจารณาคดีเกี่ยวกับความผิดที่เกิดขึ้นในอาณาบริเวณอ่าวไทยตามที่กำหนดเขตไว้ในกฎหมายให้ถือเป็นราชอาณาจักรไทยด้ว.

ดู เหตุปะทะชายแดนไทย–เวียดนามและอ่าวไทย

จังหวัดพระตะบอง

ระตะบอง หรือ บัตฎ็อมบอง (បាត់ដំបង แปลว่า "ตะบองหาย") เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศกัมพูชา อยู่ทางภาคตะวันตกของประเทศ มีเขตติดต่อกับจังหวัดสระแก้ว และจันทบุรี ประเทศไทย พื้นที่นี้อดีตเคยเป็นจังหวัดพระตะบองในมณฑลบูรพาของสยาม.

ดู เหตุปะทะชายแดนไทย–เวียดนามและจังหวัดพระตะบอง

ซอน ซาน

ซอน ซาน ซอน ซาน (សឺន សាន สืน สาน; 5 ตุลาคม พ.ศ. 2454 - 19 ธันวาคม ค.ศ. 2000) เป็นนักการเมืองชาวกัมพูชาที่ต่อต้านคอมมิวนิสต์เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 24 ของกัมพูชา (พ.ศ.

ดู เหตุปะทะชายแดนไทย–เวียดนามและซอน ซาน

แนวร่วมปลดปล่อยชาติเขมร

ผู้อพยพตามแนวชายแดนของสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา; พ.ศ. 2522 - 2527 ค่ายของแนวร่วมปลดปล่อยชาติเขมรแสดงด้วยสีดำ แนวร่วมปลดปล่อยชาติเขมร (រណសិរ្សរំដោះជាតិខ្មែរ รณสิรฺสรํเฎาะชาติขฺแมร; Khmer People’s National Liberation Front) เป็นกองกำลังต่อต้านรัฐบาลในกัมพูชาที่ไม่ใช่คอมมิวนิสต์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนตุลาคม..

ดู เหตุปะทะชายแดนไทย–เวียดนามและแนวร่วมปลดปล่อยชาติเขมร

เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ (17 ธันวาคม พ.ศ. 2460 - 23 ธันวาคม พ.ศ. 2546) อดีตนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ผู้บัญชาการทหารสูง.

ดู เหตุปะทะชายแดนไทย–เวียดนามและเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์

เขมรแดง

ธงแดงรูปค้อนเคียวของพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (ต่อมาคือพรรคกัมพูชาประชาธิปไตย) เขมรแดง (เขมร: ខ្មែរក្រហម; แขฺมรกฺรหม; อ่านว่า คแมร์กรอฮอม /ฝรั่งเศสและอังกฤษ: Khmer Rouge) หรือที่รู้จักกันในชื่อ “กองทัพแห่งชาติกัมพูชาประชาธิปไตย” (Armée nationale du Kampuchéa démocratique) คือ กองกำลังคอมมิวนิสต์กัมพูชา ที่เคยปกครองราชอาณาจักรกัมพูชา ซึ่งในขณะนั้นถูกเปลี่ยนชื่อเป็นกัมพูชาประชาธิปไตย ตั้งแต่ พ.ศ.

ดู เหตุปะทะชายแดนไทย–เวียดนามและเขมรแดง

เขียว สัมพัน

ียว สัมพัน ก่อนการพิจารณาคดีที่ศาลพิเศษคดีอาชญากรสงคราม กรุงพนมเปญ ในปี 2009 เขียว สัมพัน (ខៀវ សំផន เขียว สํผน; เกิด 27 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู เหตุปะทะชายแดนไทย–เวียดนามและเขียว สัมพัน

เปรม ติณสูลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี รัฐบุรุษ อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 16 ดำรงตำแหน่ง 3 สมัย ระหว่างปี..

ดู เหตุปะทะชายแดนไทย–เวียดนามและเปรม ติณสูลานนท์

ดูเพิ่มเติม

การบุกครอง

ความสัมพันธ์ทางการทหารไทย–เวียดนาม

ประวัติศาสตร์การทหารของเวียดนาม

ประเทศไทยในคริสต์ศตวรรษที่ 20

สงครามเกี่ยวข้องกับเวียดนาม

สงครามเกี่ยวข้องกับไทย

เขตแดนกัมพูชา–ไทย