สารบัญ
20 ความสัมพันธ์: กรีนิชมหาสมุทรอาร์กติกมหาสมุทรแปซิฟิกมหาสมุทรใต้รอสส์ดีเพนเดนซีลองจิจูดอาเนตยูมทวีปแอนตาร์กติกาทวีปเอเชียทะเลรอสส์ทะเลไซบีเรียตะวันออกทะเลเบริงขั้วโลกใต้ขั้วโลกเหนือดินแดนคัมชัตคาประเทศนิวซีแลนด์เกาะคูลแมนเกาะใต้เส้นเมริเดียนที่ 169 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 171 องศาตะวันออก
กรีนิช
หอดูดาวหลวงกรีนิช กรีนิช (Greenwich) เป็นเขตการปกครองของลอนดอน สหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของอังกฤษ เป็นที่ตั้งของหอดูดาวหลวงกรีนิชระหว่างปี..
ดู เส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันออกและกรีนิช
มหาสมุทรอาร์กติก
มหาสมุทรอาร์กติก (Arctic Ocean) ตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือ และส่วนใหญ่อยู่ในเขตขั้วโลกเหนืออาร์กติก เป็นมหาสมุทรขนาดเล็กที่สุดและตื้นเขินที่สุดในห้ามหาสมุทรตามการแบ่งมหาสมุทรหลักของโลก องค์กรอุทกศาสตร์โลก (IHO) ยอมรับว่ามหาสมุทรอาร์กติกเป็นมหาสมุทร แม้นักอุทกศาสตร์บางคนจะเรียกบริเวณนี้ว่า ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนอาร์กติก หรือเรียกง่าย ๆ ว่า ทะเลอาร์กติก โดยจัดว่าบริเวณนี้เป็นหนึ่งในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนของมหาสมุทรแอตแลนติก หรืออาจมองว่า เป็นส่วนเหนือสุดของมหาสมุทรโลกที่ล้อมรอบทั้งหมด มหาสมุทรอาร์กติกมีรูปร่างคล้ายวงกลม ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ เกือบเท่ากับขนาดของทวีปแอนตาร์กติกา แนวชายฝั่งยาว ล้อมรอบด้วยทวีปยุโรป, ทวีปเอเชีย, ทวีปอเมริกาเหนือ และกรีนแลนด์ รวมทั้งเกาะต่างๆ และทะเลแบเร็นตส์, ทะเลโบฟอร์ต, ทะเลชุกชี, ทะเลคารา, ทะเลลัปเตฟ, ทะเลไซบีเรียตะวันออก, ทะเลลิงคอล์น, ทะเลแวนเดล, ทะเลกรีนแลนด์ และทะเลนอร์เวย์ เชื่อมกับมหาสมุทรแปซิฟิกที่ช่องแคบเบริง และเชื่อมกับมหาสมุทรแอตแลนติกที่ทะเลกรีนแลนด์ มหาสมุทรอาร์กติกบางส่วนปกคลุมด้วยทะเลน้ำแข็งตลอดทั้งปีและเกือบทั้งมหาสมุทรในฤดูหนาว อุณหภูมิและความเค็มของมหาสมุทรอาร์กติกแตกต่างกันไปตามฤดูกาล เมื่อน้ำแข็งหลอมเหลวและแข็งตัว ความเค็มของมหาสมุทรมีค่าเฉลี่ยต่ำสุดในมหาสมุทรหลักทั้งห้า เนื่องจากการระเหยที่ต่ำ กระแสไหลเข้าอย่างหนักของน้ำจืดจากแม่น้ำและลำธาร การเชื่อมโยงที่จำกัดและการไหลออกไปยังมหาสมุทรโดยรอบที่มีความเค็มสูงกว่า การหดตัวของน้ำแข็งในฤดูร้อนมีบันทึกว่าลดลงถึง 50% ศูนย์ข้อมูลหิมะและน้ำแข็งแห่งชาติสหรัฐ (NSIDC) ใช้ข้อมูลดาวเทียมเพื่อหาบันทึกประจำวันของน้ำแข็งที่ปกคลุมมหาสมุทรอาร์กติก และอัตราการหลอมเหลวเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเฉลี่ยและปีที่ผ่านมา สันลอมอนอซอฟ (Lomonosov ridge) ซึ่งเป็นสันมหาสมุทรที่อยู่ใต้ทะเล แบ่งมหาสมุทรอาร์กติกออกเป็น 2 ส่วน คือ แอ่งยูเรเชีย (เรียกบริเวณนี้ว่าแนนสัน - Nansen) มีความลึก 4,000-4,500 เมตร และแอ่งอเมริกาเหนือ (เรียกบริเวณนี้ว่าไฮเพอร์โบเรียน - Hyperborean) มีความลึกประมาณ 4,000 เมตร ความลึกเฉลี่ยของมหาสมุทรอาร์กติก คือ 1,038 เมตร (3,407 ฟุต).
ดู เส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันออกและมหาสมุทรอาร์กติก
มหาสมุทรแปซิฟิก
มหาสมุทรแปซิฟิก (Pacific Ocean) ตั้งชื่อโดย เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน ว่า Mare Pacificum เป็นภาษาละติน แปลว่า peaceful sea ภาษาฝรั่งเศส pacifique (ปาซีฟีก) หมายถึง "สงบสุข" เป็นผืนน้ำที่กว้างใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นน้ำประมาณ 165,000,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 1 ใน 3 ของพื้นที่ผิวทั้งหมดของโลก ความยาวในแนวลองจิจูดมีระยะทางประมาณ 15,500 กิโลเมตร จากทะเลเบริงในเขตอาร์กติกที่อยู่ทางเหนือจรดริมฝั่งทะเลรอสส์ในแอนตาร์กติกาที่อยู่ทางใต้ มหาสมุทรแปซิฟิกมีด้านที่กว้างที่สุดตามแนวตะวันออก-ตะวันตก อยู่ ณ บริเวณละติจูด 5 องศาเหนือ ด้วยความยาวประมาณ 19,800 กิโลเมตร จากอินโดนีเซียถึงชายฝั่งโคลอมเบีย สุดเขตด้านตะวันตก คือ ช่องแคบมะละกา จุดที่ลึกที่สุดในโลก คือ ร่องลึกมาเรียนา (Mariana Trench) อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก จุดที่ลึกที่สุดวัดได้ 10,911 เมตร มหาสมุทรแปซิฟิก ความเค็มประมาณ 33-37 ส่วนต่อพันส่วน กระแสน้ำที่สำคัญของมหาสมุทรแปซิฟิก คือ กระแสน้ำเย็นฮัมโบลต์ (เปรู) กระแสน้ำอุ่นศูนย์สูตร กระแสน้ำเย็นแคลิฟอร์เนีย กระแสน้ำอุ่นอะแลสกา และกระแสน้ำอุ่นคุโระชิโอะ (กุโรชิโว) มหาสมุทรแปซิฟิกมีเกาะอยู่ประมาณ 25,000 เกาะ (มากกว่าเกาะในมหาสมุทรอื่น ๆ ที่เหลือรวมกัน) ส่วนใหญ่อยู่ใต้เส้นศูนย์สูตร ริมมหาสมุทรประกอบด้วยทะเลจำนวนมาก ที่สำคัญ คือ ทะเลเซเลบีส ทะเลคอรัล ทะเลจีนตะวันออก ทะเลญี่ปุ่น ทะเลจีนใต้ ทะเลซูลู ทะเลแทสมัน และทะเลเหลือง ทางด้านตะวันตก ช่องแคบมะละกาเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรอินเดีย ส่วนทางด้านตะวันออก ช่องแคบมาเจลลันเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับ มหาสมุทรแอตแลนติก.
ดู เส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันออกและมหาสมุทรแปซิฟิก
มหาสมุทรใต้
มหาสมุทรใต้(2002). มหาสมุทรใต้ (Southern Ocean) หรือที่รู้จักกันในชื่อ มหาสมุทรแอนตาร์กติก (Antarctic Ocean) เป็นมหาสมุทรที่อยู่ล้อมรอบทวีปแอนตาร์กติกา มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 4 ของโลก และเป็นที่สุดท้ายที่องค์การอุทกศาสตร์สากล (International Hydrographic Organization) นิยามให้เป็นมหาสมุทรเมื่อปี พ.ศ.
ดู เส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันออกและมหาสมุทรใต้
รอสส์ดีเพนเดนซี
รอสส์ดีเพนเดนซี (Ross Dependency) เป็นเขตการปกครองในทวีปแอนตาร์กติกา อยู่ระหว่างลองจิจูด 160° ตะวันออกถึง 150° ตะวันตก และสิ้นสุดที่ละติจูด 60° ใต้ เป็นเขตที่นิวซีแลนด์อ้างกรรมสิทธิ์ใน..
ดู เส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันออกและรอสส์ดีเพนเดนซี
ลองจิจูด
ลองติจูด (longitude) หรือเดิมเรียกว่า เส้นแวง แทนด้วยอักษรกรีก λ เป็นพิกัดที่ใช้บอกตำแหน่งบนพื้นโลก โดยวัดไปทางตะวันออกหรือตะวันตกจากเส้นสมมติในแนวเหนือ-ใต้ที่เรียกว่าเส้นเมริเดียนแรก พิกัดที่ใช้คู่กัน คือ ละติจูด ลองติจูดมีหน่วยเป็นองศา นับจาก 0 องศาที่เส้นเมริเดียนแรกไปทางตะวันออก +180 องศา และไปทางตะวันตก −180 องศา ลองติจูดต่างจากละติจูด ตรงที่ละติจูดมีเส้นศูนย์สูตรเป็นเส้นอ้างอิงตามธรรมชาติ ลองติจูดจึงต้องกำหนดเส้นสมมติขึ้นมาหนึ่งเส้นสำหรับอ้างอิง ใน ค.ศ.
ดู เส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันออกและลองจิจูด
อาเนตยูม
อาเนตยูม (Aneityum) เป็นเกาะใต้สุดของประเทศวานูอาตู ทางตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก อยู่ในจังหวัดตาเฟีย มีสนามบินแห่งหนึ่ง แต่ไม่ได้อยู่บนเกาะหลัก ตั้งอยู่บนเกาะเล็ก ๆ ทางตอนใต้ เกาะมีพื้นที่ 159.2 ตร.กม.
ดู เส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันออกและอาเนตยูม
ทวีปแอนตาร์กติกา
วเทียมของทวีปแอนตาร์กติกา แอนตาร์กติกา (Antarctica) เป็นทวีปที่อยู่ใต้สุดของโลกตั้งอยู่ในภูมิภาคแอนตาร์กติกในซีกโลกใต้และเป็นที่ตั้งขั้วโลกใต้ทางภูมิศาสตร์ เกือบทั้งหมดอยู่ในวงกลมแอนตาร์กติกและล้อมลอบด้วยมหาสมุทรใต้ มีพื้นที่ประมาณ 14,000,000 ตารางกิโลเมตร เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ 5 ของโลกใหญ่กว่าทวีปออสเตรเลียถึง 2 เท่า พื้นที่ 98% ของทวีปปกคลุมด้วยน้ำแข็งหนาเฉลี่ย 1.9 กิโลเมตร ซึ่งครอบคลุมพื้นที่เกือบจะถึงเหนือสุดของคาบสมุทรแอนตาร์กติก โดยค่าเฉลี่ยแล้วแอนตาร์กติกาเป็นทวีปที่หนาวที่สุด แห้งแล้งที่สุด ลมแรงที่สุดและมีความสูงโดยเฉลี่ยมากที่สุด แอนตาร์กติกาเป็นทะเลทรายที่มีหยาดน้ำฟ้าเฉลี่ย 200 มิลลิเมตรต่อปีตามแนวชายฝั่งและพื้นที่ภายใน แม้ว่าช่วงที่หนาวสุดของปีจะมีอุณหภูมิเฉลี่ย −63 °C แต่อุณหภูมิอาจต่ำถึง −89.2 °C (และอาจถึง -94.7 ° C หากวัดจากอากาศ) บางสถานที่มีคนราว 1,000 ถึง 5,000 คนอาศัยในสถานีวิจัยที่กระจายอยู่ทั่วที้งทวีปตลอดทั้งปี สิ่งมีชีวิตในแอนตาร์กติกาจะเป็นพวกสาหร่าย แบคทีเรีย เห็ดรา พืช โพรทิสต์และสัตว์บางชนิดเช่นตัวเห็บ ตัวไร นีมาโทดา เพนกวิน สัตว์ตีนครีบและหมีน้ำส่วนพืชก็จะเป็นพวกทันดรา แม้ว่ามีตำนานเล่าขานเกี่ยวกับการมีอยู่ของดินแดนใต้ตั้งแต่ยุคโบราณ แอนตาร์กติกาถูกระบุว่าเป็นดินแดนสุดท้ายบนโลกในประวัติศาสตร์ที่ถูกค้นพบเพราะไม่มีใครเคยพบเลยจนกระทั่ง..
ดู เส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันออกและทวีปแอนตาร์กติกา
ทวีปเอเชีย
แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชีย เอเชีย (Asia; Ασία อาเซีย) เป็นทวีปใหญ่และมีประชากรมากที่สุดในโลก พื้นที่ส่วนมากตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือและตะวันออก ทวีปเอเชียตั้งอยู่ในทวีปยูเรเชียรวมกับทวีปยุโรป และอยู่ในทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียร่วมกับยุโรปและแอฟริกา ทวีปเอเชียมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 44,579,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 30% ของแผ่นดินทั่วโลกหรือคิดเป็น 8.7% ของผิวโลกทั้งหมด ทวีปเอเชียเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์มานานและเป็นแหล่งกำเนินอารยธรรมแรก ๆ ของโลกหลายแห่ง เอเชียไม่ได้เพียงแค่มีขนานใหญ่และมีประชากรเยอะแต่ยังมีสถานที่ ๆ ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นและมีขนาดใหญ่เช่นเดียวกับที่ยังมีบริเวณที่ประชากรตั้งถิ่นฐานเบาบางด้วย ทั้งนี้ทวีปเอเชียมีประชากรราว 4.5 พันล้านคน คิดเป็น 60% ของประชากรโลก โดยทั้วไปทางตะวันออกของทวีปติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ทางใต้ติดมหาสมุทรอินเดียและทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก บริเวณชายแดนระหว่างเอเชียและยุโรปมีประวัติศาสตร์และโครงสร้างวัฒนธรรมมากมายเพราะไม่มีการแยกกันด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ชัดเจน จึงมีการโยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทำให้บริเวณนี้แสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ของตะวันออกกับตะวันตกและแบ่งจากกันอย่างเด่นชัดกว่าการขีดเส้นแบ่ง เขตแดนที่เด่นชัดของเอเชียคือตั้งแต่ฝั่งตะวันออกของคลองสุเอซ, แม่น้ำยูรัล, เทือกเขายูรัล, ช่องแคบตุรกี, ทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส, ทะเลดำและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp.
ดู เส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันออกและทวีปเอเชีย
ทะเลรอสส์
แผนที่ทวีปแอนตาร์กติกา ทะเลรอสส์ (Ross Sea) เป็นอ่าวลึกของมหาสมุทรใต้ของทวีปแอนตาร์กติกาที่ตั้งอยู่ระหว่างดินแดนวิคตอเรียกับดินแดนมารีเบิร์ด ที่พบโดยเจมส์ คลาร์ก รอสส์ในปี..
ดู เส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันออกและทะเลรอสส์
ทะเลไซบีเรียตะวันออก
แผนที่ทะเลไซบีเรียตะวันออก ทะเลไซบีเรียตะวันออก (Восто́чно-Сиби́рское мо́ре; East Siberian Sea) ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของภูมิภาคไซบีเรีย ประเทศรัสเซีย เป็นทะเลในมหาสมุทรอาร์กติก ตั้งอยู่ระหว่างแหลมอาร์กติกทางเหนือ ชายฝั่งของไซบีเรียทางใต้ หมู่เกาะนิวไซบีเรียทางตะวันตก และแหลมบิลลิงส์ทางตะวันออก ทะเลไซบีเรียตะวันออกมีพื้นที่ 361,000 ตารางไมล์ ร้อยละ 70 ของพื้นที่มีความลึกไม่เกิน 50 เมตร ความลึกเฉลี่ย 66 เมตร และจุดที่ลึกที่สุดมีความลึก 358 เมตร อุณหภูมิโดยเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 0-2 องศาเซลเซียส (4 องศาเซลเซียสทางตอนใต้) ในฤดูร้อน และ -30 องศาเซลเซียสในฤดูหนาว ทะเลแห่งนี้มีน้ำแข็งปกคลุมตลอดทั้งปีเช่นเดียวกับทะเลลัปเตฟ แม่น้ำที่ใหญ่ที่สุดที่ไหลลงทะเลแห่งนี้คือแม่น้ำคาลึยม.
ดู เส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันออกและทะเลไซบีเรียตะวันออก
ทะเลเบริง
ทะเลเบริง (Берингово мо́ре; Bering Sea) ตั้งอยู่ทางมหาสมุทรแปซิฟิก อยู่ทางใต้ช่องแคบแบริ่งที่กั้นระหว่างประเทศรัสเซียและสหรัฐอเมริกา ทางใต้มีหมู่เกาะคอมมานเดอร์กั้นระหว่างทะเลกับมหาสมุทรแปซิฟิค ทะเลแบริ่งมีความลึกมากเพราะใต้ทะเลมีหุบเหว ทะเลแห่งนี้มีความลึกโดยเฉลี่ย 1,600 เมตร จุดที่ลึกที่สุดมีความลึก 4,151 เมตร แม่น้ำสายสำคัญที่ไหลลงสู่ทะเลแห่งนี้คือแม่น้ำอะนาดึร ที่ทะเลแห่งนี้เป็นแหล่งการประมงหลากหลายชนิด เช่น ปลาในตระกูลปลาแซลมอน ปลาในตระกูลปลาซาดีน และปูอลาสก้า หมวดหมู่:ทะเลในมหาสมุทรแปซิฟิก หมวดหมู่:ทะเลในประเทศรัสเซีย หมวดหมู่:ธรณีสัณฐานในสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:ทะเลเบริง หมวดหมู่:รัฐอะแลสกา หมวดหมู่:เอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ.
ดู เส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันออกและทะเลเบริง
ขั้วโลกใต้
ั้วโลกใต้ (South Pole) เป็นจุดที่อยู่ทางทิศใต้สุดของโลก.
ดู เส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันออกและขั้วโลกใต้
ขั้วโลกเหนือ
ั้วโลกเหนือภูมิศาสตร์ ขั้วโลกเหนือ (North Pole) เป็นจุดที่ถือว่าอยู่ทางเหนือที่สุดของโลก.
ดู เส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันออกและขั้วโลกเหนือ
ดินแดนคัมชัตคา
นแดนคัมชัตคา (Камча́тский край) เป็นเขตการปกครองของประเทศรัสเซีย ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม..
ดู เส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันออกและดินแดนคัมชัตคา
ประเทศนิวซีแลนด์
นิวซีแลนด์ (New Zealand; มาวรี: Aotearoa หมายถึง "ดินแดนแห่งเมฆยาวสีขาว" หรือ Niu Tirenio ซึ่งเป็นการทับศัพท์จากภาษาอังกฤษ) เป็นประเทศที่ประกอบด้วยเกาะใหญ่ 2 เกาะ รวมถึงเกาะเล็ก ๆ จำนวนหนึ่ง ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนตะวันตกเฉียงใต้ - นิวซีแลนด์มีเมืองหลวงชื่อเวลลิงตัน นิวซีแลนด์เป็นประเทศที่ห่างไกลจากประเทศอื่น ๆ มากที่สุด ประเทศที่อยู่ใกล้ที่สุดคือประเทศออสเตรเลีย ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะใหญ่ 2,000 กิโลเมตร โดยที่มี ทะเลแทสมันกั้นกลาง ดินแดนเดียวที่อยู่ทางใต้คือทวีปแอนตาร์กติกา และทางเหนือคือนิวแคลิโดเนีย ฟิจิ และตองกา นิวซีแลนด์ได้กลายเป็นอาณานิคมของอังกฤษด้วยสนธิสัญญาไวตางี (Treaty of Waitangi) เมื่อปี พ.ศ.
ดู เส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันออกและประเทศนิวซีแลนด์
เกาะคูลแมน
แผนที่แสดงตำแหน่งเกาะคูลแมน เกาะคูลแมน (Coulman Island) เป็นเกาะที่ปกคลุมไปด้วยน้ำแข็งที่ประกอบด้วยเกาะภูเขาไฟที่เชื่อมติดต่อกันในทะเลรอสส์นอกฝั่งทะเลของทวีปแอนตาร์กติกา เกาะคูลแมนที่เป็นที่อยู่อาศัยของเพนกวินจักรพรรดิ ตั้งอยู่ภายในดินแดนรอสส์ที่นิวซีแลนด์อ้างสิทธิการปกครอง.
ดู เส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันออกและเกาะคูลแมน
เกาะใต้
กาะใต้ หรือ เซาท์ไอแลนด์ (South Island) เป็นเกาะในประเทศนิวซีแลนด์ เป็นหนึ่งใน 2 เกาะใหญ่ของประเทศ เป็นเกาะใหญ่ที่สุดในประเทศ แบ่งกับเกาะเหนือโดยช่องแคบคุก มีพื้นที่ 151,215 ตร.กม.
ดู เส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันออกและเกาะใต้
เส้นเมริเดียนที่ 169 องศาตะวันออก
้นเมริเดียน 169 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 169 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 11 องศาตะวันตก.
ดู เส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันออกและเส้นเมริเดียนที่ 169 องศาตะวันออก
เส้นเมริเดียนที่ 171 องศาตะวันออก
้นเมริเดียนที่ 171 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก นิวซีแลนด์ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 171 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 9 องศาตะวันตก.
ดู เส้นเมริเดียนที่ 170 องศาตะวันออกและเส้นเมริเดียนที่ 171 องศาตะวันออก