เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

เรดีฟอร์อิต

ดัชนี เรดีฟอร์อิต

"เรดีฟอร์อิต" (...Ready for It?) เป็นเพลงที่บันทึกเสียงโดยเทย์เลอร์ สวิฟต์ นักร้องนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน จากสตูดิโออัลบั้มที่หก เรพิวเทชัน เดิมเป็นซิงเกิลประชาสัมพันธ์ ถูกส่งเปิดตามคลื่นวิทยุในวันที่ 24 ตุลาคม..

สารบัญ

  1. 12 ความสัมพันธ์: บิลบอร์ดพีเพิล (นิตยสาร)ลุกวอตยูเมดมีดูสื่อแบบส่งต่อเนื่องอิเล็กโทรป็อปดนตรีอินดัสเทรียลแมกซ์ มาร์ตินโรลลิงสโตนเชลล์แบ็ก (โปรดิวเซอร์เพลง)เรพิวเทชัน (อัลบั้มเทย์เลอร์ สวิฟต์)เอบีซีเทย์เลอร์ สวิฟต์

  2. ซิงเกิลสังกัดบิกแมชีนเรเคิดส์
  3. เพลงของเทย์เลอร์ สวิฟต์
  4. เพลงที่ประพันธ์คำร้องโดยเชลล์แบ็ก (โปรดิวเซอร์เพลง)
  5. เพลงที่ประพันธ์คำร้องโดยเทย์เลอร์ สวิฟต์
  6. เพลงที่ประพันธ์คำร้องโดยแมกซ์ มาร์ติน
  7. เพลงบันทึกเสียงที่ผลิตโดยเชลล์แบ็ก (โปรดิวเซอร์เพลง)
  8. เพลงบันทึกเสียงที่ผลิตโดยแมกซ์ มาร์ติน
  9. เพลงอิเล็กโทรป็อป

บิลบอร์ด

ลบอร์ด เป็นนิตยสารทางด้านเกี่ยวกับอุตสาหกรรมเพลงฉบับหนึ่งในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีลักษณะของชาร์ทเพลงและอัลบั้ม ออกเป็นรายสัปดาห์ โดยนิตยสารฉบับนี้จะมีตารางจัดอันดับเพลงและอัลบั้มยอดนิยมตามแนวเพลงในแต่ละสัปดาห์ แต่ตารางอันดับเพลงซึ่งคนทั่วโลกเป็นที่รู้จักมากที่สุดคือ "Billboard Hot 100" ชาร์ทเพลงอันดับ 1 ของโลก เป็นการจัดอันดับเพลง 100 อันดับ โดยไม่แบ่งประเภทหรือแนวเพลง และอีกตารางคือ "Billboard 200" ซึ่งเป็นการจัดอันดับอัลบั้มที่มียอดจำหน่ายสูงสุด 200 อัลบั้มตามผลสำรว.

ดู เรดีฟอร์อิตและบิลบอร์ด

พีเพิล (นิตยสาร)

ีเพิล (People หรือชื่อเต็ม People Weekly) เป็นนิตยสารอเมริกันรายสัปดาห์ ในรูปแบบเนื้อหาเกี่ยวกับคนดัง บุคคลที่มีเรื่องราวน่าสนใจ พิมพ์โดย Time Inc.

ดู เรดีฟอร์อิตและพีเพิล (นิตยสาร)

ลุกวอตยูเมดมีดู

"ลุกวอตยูเมดมีดู" (Look What You Made Me Do) เป็นเพลงของนักร้องนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน เทย์เลอร์ สวิฟต์ จากสตูดิโออัลบั้มที่หก เรพิวเทชัน (2017) เพลงออกจำหน่ายในวันที่ 25 สิงหาคม..

ดู เรดีฟอร์อิตและลุกวอตยูเมดมีดู

สื่อแบบส่งต่อเนื่อง

การแพร่ภาพกระจายเสียงทางเว็บกำลังส่งข้อมูลต่อเนื่องผ่านตัวเล่นสื่อแบบหนึ่ง สื่อแบบส่งต่อเนื่อง (streaming media) เป็นสื่อประสมที่ผู้ใช้ขั้นปลายได้รับตามลำดับอย่างต่อเนื่องในขณะที่ผู้ให้บริการกำลังส่งมอบเนื้อหาทั้งหมดไปให้ ตัวเล่นสื่อลูกข่ายอาจเริ่มเล่นข้อมูล (เช่น ภาพยนตร์) ก่อนที่ไฟล์เนื้อหาจะถูกส่งมาทั้งหมดก็ได้ การรับ-ส่งสื่อแบบต่อเนื่องเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการรับชมนอกเหนือจากการดาวน์โหลดสู่อุปกรณ์ส่วนบุคคล คำกริยา stream ในภาษาอังกฤษหมายถึงกระบวนการส่งมอบเนื้อหาในลักษณะดังกล่าว ศัพท์นี้จึงสื่อถึงวิธีการส่งสื่อมากกว่าจะสื่อถึงลักษณะของตัวสื่อเอง การจำแนกวิธีส่งสื่อออกจากตัวสื่อที่ถูกส่งนั้นใช้โดยเฉพาะกับเครือข่ายโทรคมนาคม เนื่องจากระบบการส่งมอบข้อมูลโดยทั่วไปมีทั้งระบบที่ส่งต่อเนื่องในตัว (เช่น วิทยุ, โทรทัศน์) และระบบที่ไม่สามารถส่งต่อเนื่องได้ในตัว (เช่น หนังสือ, ตลับวีดิทัศน์, แผ่นซีดีเสียง) ตัวอย่างเช่น ในคริสต์ทศวรรษ 1930 ดนตรีลิฟต์ (elevator music) เป็นหนึ่งในบรรดาสื่อแบบส่งต่อเนื่องยุคแรกสุดที่เป็นที่นิยมกัน แต่ทุกวันนี้ โทรทัศน์อินเทอร์เน็ตได้กลายเป็นรูปแบบสามัญรูปแบบหนึ่งของสื่อแบบส่งต่อเนื่องไปแล้ว ศัพท์ "สื่อแบบส่งต่อเนื่อง" สามารถใช้กับสื่ออื่น ๆ นอกเหนือจากวีดิทัศน์และข้อมูลเสียง เช่น คำบรรยายแบบซ่อนได้สด, ทิกเกอร์เทป และข้อความสด (real-time text) ซึ่งเราถือว่าทั้งหมดเป็น "ข้อความแบบส่งต่อเนื่อง" อนึ่ง วลี "แบบส่งต่อเนื่อง" ได้รับการนำมาใช้เป็นครั้งแรกในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1990 เนื่องจากเป็นคำอธิบายที่ดีกว่าสำหรับวีดิทัศน์ตามคำขอบนเครือข่ายไอพี โดยในขณะนั้นวีดิทัศน์รูปแบบดังกล่าวมักถูกเรียกว่า "วีดิทัศน์แบบเก็บข้อมูลแล้วส่งต่อ" (store and forward video) ซึ่งเป็นการตั้งชื่อที่อาจทำให้เข้าใจผิดได้ การส่งต่อเนื่องสด (live streaming) ซึ่งสื่อถึงการส่งมอบเนื้อหาผ่านอินเทอร์เน็ตตามเวลาจริงนั้นจำเป็นต้องใช้สื่อต้นทางรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง (เช่น กล้องวีดิทัศน์, ตัวต่อประสานเสียง, ซอฟต์แวร์จับภาพหน้าจอ), ตัวเข้ารหัสเพื่อแปลงเนื้อหาเป็นดิจิทัล, ตัวจัดพิมพ์สื่อ และเครือข่ายการส่งมอบเนื้อหา (content delivery network) เพื่อแจกจ่ายและส่งเนื้อหา ตัวอย่างโปรแกรมประยุกต์ที่ใช้ในการส่งต่อเนื่องสด เช่น เฟซบุ๊กไลฟ์, บีโกไลฟ์ เป็นต้น.

ดู เรดีฟอร์อิตและสื่อแบบส่งต่อเนื่อง

อิเล็กโทรป็อป

อิเล็กโทรป็อป (Electropop) เป็นแนวดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ส่วนใหญ่จะเน้นการใช้งานเครื่องสังเคราะห์เสียง แนวเพลงได้เห็นการฟื้นตัวจากความนิยมและมีอิทธิพล ตั้งแต่ช่วงปลายยุค 2000 "อิเล็กโทรป็อป" เป็นคำย่อมาจาก อิเล็กทรอนิกส์ป็อป (electronic pop) หมวดหมู่:แนวดนตรี.

ดู เรดีฟอร์อิตและอิเล็กโทรป็อป

ดนตรีอินดัสเทรียล

นตรีอินดัสเตรียล (Industrial music) เป็นแนวเพลงประเภทดนตรีทดลอง โดยมากมักหมายถึงดนตรีอิเล็กทรอนิก ที่มีลักษณะกวนโทสะและหมิ่นเหม่ คำนี้เกิดขึ้นมาในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1970 เพื่ออธิบายถึงศิลปินจากค่ายอินดัสเตรียลเรเคิดส์ เว็บไซต์ออลมิวสิก อธิบายไว้ว่า "โดยมากเป็นความโมโหและก้าวร้าวในการรวมกันของร็อกและดนตรีอีเลกโทรนิก" โดย "ในช่วงแรกจะเป็นการผสมผสานของการทดลองดนตรีอีเลกโทรนิกอาวองการ์ด (เพลงจากเทป musique concrète ไวต์นอยส์ เครื่องสังเคราะห์เสียง ซับซีเควนเซอร์) และการยั่วยุแบบพังก์" ศิลปินอินดัสเตรียลในช่วงแรกได้ทดลองใช้เสียงกับเรื่องที่หมิ่นเหม่ การทำงานไม่ได้จำกัดเฉพาะในด้านดนตรีเท่านั้น แต่อาจรวมถึงศิลปะ การแสดง การจัดวาง และรูปแบบของศิลปะในรูปแบบอื่น V.Vale.

ดู เรดีฟอร์อิตและดนตรีอินดัสเทรียล

แมกซ์ มาร์ติน

ร์ล มาร์ติน แซนด์เบิร์ก (Karl Martin Sandberg) หรือ แมกซ์ มาร์ติน (Max Martin) เกิดวันที่ 26 กุมภาพัน..

ดู เรดีฟอร์อิตและแมกซ์ มาร์ติน

โรลลิงสโตน

รลลิงสโตน เป็นนิตยสารมีสำนักงานใหญ่ในสหรัฐอเมริกา เกี่ยวกับดนตรี การเมือง วัฒนธรรมสมัยนิยม พิมพ์ทุก 2 อาทิตย์ โรลลิงสโตนก่อตั้งครั้งแรกในซานฟรานซิสโก ในปี..

ดู เรดีฟอร์อิตและโรลลิงสโตน

เชลล์แบ็ก (โปรดิวเซอร์เพลง)

ร์ล โยฮัน ชุสเตอร์ (Karl Johan Schuster เกิด 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1985) หรือเชลล์แบ็ก (Shellback) เป็นนักแต่งเพลง โปรดิวเซอร์เพลง และนักดนตรีชาวสวีเดน เชลลแบ็กถูกจัดให้เป็นโปรดิวเซอร์เพลงอันดับหนึ่งแห่งปี..

ดู เรดีฟอร์อิตและเชลล์แบ็ก (โปรดิวเซอร์เพลง)

เรพิวเทชัน (อัลบั้มเทย์เลอร์ สวิฟต์)

รพิวเทชัน (Reputation) เป็นสตูดิโออัลบั้มที่หกของนักร้อง นักแต่งเพลงชาวอเมริกัน เทย์เลอร์ สวิฟต์ วางจำหน่ายในวันที่ 10 พฤศจิกายน..

ดู เรดีฟอร์อิตและเรพิวเทชัน (อัลบั้มเทย์เลอร์ สวิฟต์)

เอบีซี

ABC เป็นอักษรสามตัวแรกของอักษรละติน (รวมไปถึงอักษรอังกฤษด้วย) และยังอาจหมายถึง.

ดู เรดีฟอร์อิตและเอบีซี

เทย์เลอร์ สวิฟต์

ทย์เลอร์ แอลิสัน สวิฟต์ (Taylor Alison Swift; เกิด 13 ธันวาคม ค.ศ. 1989) เป็นนักร้องและนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน เธอเป็นหนึ่งในศิลปินหญิงยอดนิยมที่เป็นที่รู้จักจากการแต่งเพลงเกี่ยวกับชีวิตส่วนตัวและเป็นที่สนใจของสื่ออย่างมาก สวิฟต์เกิดเติบโตในรัฐเพนซิลเวเนีย ต่อมาเธอได้ย้ายไปยังเมืองแนชวิลล์ รัฐเทนเนสซี ขณะอายุ 14 ปี เพื่อหางานทำเกี่ยวกับเพลงคันทรี เธอได้เซ็นสัญญากับค่ายเพลงบิกแมชีนเรเคิดส์ และเป็นนักแต่งเพลงที่อายุน้อยที่สุดที่ได้เซ็นสัญญากับบริษัทโซนี/เอทีวีมิวสิกพับบลิชชิง อัลบั้มแรกของสวิฟต์มีชื่อเดียวกับตนเอง วางจำหน่ายในปี..

ดู เรดีฟอร์อิตและเทย์เลอร์ สวิฟต์

ดูเพิ่มเติม

ซิงเกิลสังกัดบิกแมชีนเรเคิดส์

เพลงของเทย์เลอร์ สวิฟต์

เพลงที่ประพันธ์คำร้องโดยเชลล์แบ็ก (โปรดิวเซอร์เพลง)

เพลงที่ประพันธ์คำร้องโดยเทย์เลอร์ สวิฟต์

เพลงที่ประพันธ์คำร้องโดยแมกซ์ มาร์ติน

เพลงบันทึกเสียงที่ผลิตโดยเชลล์แบ็ก (โปรดิวเซอร์เพลง)

เพลงบันทึกเสียงที่ผลิตโดยแมกซ์ มาร์ติน

เพลงอิเล็กโทรป็อป