โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เทศบาลนครนครราชสีมา

ดัชนี เทศบาลนครนครราชสีมา

นครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นเทศบาลนครแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ในอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา เป็นเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นที่ตั้งของศาลากลางจังหวัด ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้กำหนดให้เป็นเมืองหลักของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นศูนย์กลางการค้า การพาณิชย์ การคมนาคมทางบก และอุตสาหกรรม โดยปี..

79 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2217พ.ศ. 2436พ.ศ. 2451พ.ศ. 2459พ.ศ. 2478พ.ศ. 2510พ.ศ. 2538พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกรมการศาสนากระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานครภาคอีสาน (ประเทศไทย)มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุลมณฑลนครราชสีมามณฑลเทศาภิบาลศาสนาพุทธศาสนาอิสลามศาสนาคริสต์สมเด็จพระนารายณ์มหาราชสาธารณสุขสำนวนภาษาปากสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ประเทศไทย)สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)สำเนียงโคราชสถานีรถไฟสถานีรถไฟชุมทางถนนจิระสถานีรถไฟนครราชสีมาสนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาห้างสรรพสินค้าอำเภอบัวลายอำเภอบัวใหญ่อำเภอบ้านเหลื่อมอำเภอสูงเนินอำเภอสีคิ้วอำเภอห้วยแถลงอำเภอจักราชอำเภอคงอำเภอปากช่องอำเภอโนนสูงอำเภอเมืองนครราชสีมาอุตสาหกรรมองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านเกาะจังหวัดจังหวัดนครราชสีมาถนนมิตรภาพถนนมุขมนตรีถนนสืบศิริถนนสุรนารายณ์ถนนสุรนารี...ถนนจอมสุรางค์ยาตรถนนโพธิ์กลางทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 224ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304ท่าอากาศยานนครราชสีมาท้าวสุรนารีตารางประตูเมืองนครราชสีมาป้อมสนามโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมาโรงพยาบาลค่ายสุรนารีโรงเรียนบุญวัฒนาโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัยโรงเรียนสุรนารีวิทยาเกษตรกรรมเทศบาลเทศบาลตำบลบ้านใหม่ (จังหวัดนครราชสีมา)เทศบาลตำบลสุรนารีเทศบาลตำบลหัวทะเลเทศบาลตำบลหนองไผ่ล้อมเทศบาลตำบลปรุใหญ่เทศบาลตำบลโพธิ์กลางเทศบาลนครนครราชสีมาเทศบาลนครในประเทศไทยเทอร์มินอล 21 โคราชเขตการปกครองของประเทศไทยเดอะมอลล์ โคราชเซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา25 กันยายน ขยายดัชนี (29 มากกว่า) »

พ.ศ. 2217

ทธศักราช 2217 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและพ.ศ. 2217 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2436

ทธศักราช 2436 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1893 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและพ.ศ. 2436 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2451

ทธศักราช 2451 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1908 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและพ.ศ. 2451 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2459

ทธศักราช 2459 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1916 เป็นปีอธิกสุรทินแรกของไทย ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและพ.ศ. 2459 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2478

ทธศักราช 2478 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1935.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและพ.ศ. 2478 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2510

ทธศักราช 2510 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1967 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและพ.ศ. 2510 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและพ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

กรมการศาสนา

กรมการศาสนา (Department of Religious Affairs) เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดกระทรวงวัฒนธรรม มีหน้าที่การดำเนินงานของรัฐด้านศาสนา โดยการทำนุบำรุงส่งเสริมและให้ความอุปถัมภ์คุ้มครองกิจการศาสนาพุทธและศาสนาอื่นๆ ที่ทางราชการรับรอง (ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และศาสนาซิกข์) ตลอดจนส่งเสริมพัฒนาความรู้คู่คุณธรรม ส่งเสริมความเข้าใจอันดี และสร้างความสมานฉันท์ระหว่างศาสนิกชนของทุกศาสนา รวมทั้งดำเนินการเพื่อให้คนไทยนำหลักธรรมของศาสนามาใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้เป็นคนดีมีคุณธรรม.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและกรมการศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)

กระทรวงสาธารณสุข (Ministry of Public Health) เป็นหน่วยงานราชการไทย ประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพอนามัย การป้องกัน ควบคุม และรักษาโรคภัย การฟื้นฟูสมรรถภาพของประชาชน และราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงสาธารณสุขหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุขปัจจุบันตั้งอยู่ที่ ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและกระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

ภาคอีสาน (ประเทศไทย)

อีสาน (มาจากภาษาบาลีหรือภาษาสันสกฤต ऐशान aiśāna แปลว่า "ตะวันออกเฉียงเหนือ") หรือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นภูมิภาคหนึ่งในประเทศไทย ตั้งอยู่บนแอ่งโคราชและแอ่งสกลนคร มีแม่น้ำโขงกั้นประเทศลาวทางทิศเหนือและตะวันออกของภาค ทางทิศใต้มีเทือกเขาพนมดงรักกั้นประเทศกัมพูชาและภาคตะวันออกของประเทศไทย และมีทิวเขาเพชรบูรณ์และทิวเขาดงพญาเย็นเป็นแนวกั้นทางตะวันตกแยกจากภาคกลาง ภาคอีสานยังมีเนื้อที่มากที่สุดของประเทศไทย ประมาณ 168,854 ตารางกิโลเมตร หรือมีเนื้อที่ร้อยละ 33.17 เทียบได้กับหนี่งในสามของพื้นที่ทั้งหมดของประเทศไทยได้จัดว่าเป็นพื้นที่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เทือกเขาที่สูงที่สุดในภาคอีสานคือ ยอดภูลมโล ภูหลวง และภูกระดึง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำสายสำคัญของชาวอีสานในหลายจังหวัดด้วยกัน เช่น แม่น้ำห้วยหลวง แม่น้ำชี ลำตะคอง แม่น้ำพอง แม่น้ำเลย แม่น้ำพรม แม่น้ำมูล แม่น้ำสงคราม ภาษาหลักของภาคนี้ คือ ภาษาอีสาน ซึ่งเป็นภาษาอีสานสำเนียงหนึ่งทางฝั่งขวาแม่น้ำโขง ส่วนภาษาไทยนิยมใช้กันทั่วไปโดยเฉพาะในเมืองใหญ่และจังหวัดนครราชสีมาแต่ไม่ถือเป็นภาษาหลัก ขณะเดียวกันยังมีภาษาเขมรที่ใช้กันมากในบริเวณอีสานใต้ นอกจากนี้ มีภาษาถิ่นอื่น ๆ อีกมาก เช่น ภาษาผู้ไท ภาษาโส้ ภาษาไทโคราช ภาษากวย (ส่วย) ภาษาแสก ภาษาข่า ภาษากะเลิง ภาษาโย้ย ภาษาย้อ เป็นต้น ภาคอีสานยังมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่โดดเด่นที่สุดของประเทศ เช่น อาหาร ภาษา อักษร เช่น อักษรไทน้อย ดนตรีหมอลำ ดนตรีกันตรึม ดนตรีเจรียง และศิลปะการฟ้อนรำ การเซิ้ง ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ เป็นต้น.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและภาคอีสาน (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏ

มหาวิทยาลัยราชภัฏ เป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยที่พัฒนามาจากโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ที่ตั้งอยู่ในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคของประเทศ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น วิทยาลัยครู หลังจากนั้น ได้รับพระราชทานนาม "ราชภัฏ" จากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ให้เป็นชื่อประจำสถาบัน พร้อมทั้ง พระราชทาน พระราชลัญจกรเป็นตราประจำมหาวิทยาลัย โดยในปัจจุบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏ มีอยู่ทั้งสิ้น 38 แห่ง ทั่วประเท.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและมหาวิทยาลัยราชภัฏ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล

มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งแรกที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลนครราชสีมา

มณฑลนครราชสีมา ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2436 เป็นมณฑลแรกของประเทศสยาม ในช่วงแรกมีเมืองเพชรบูรณ์และเมืองหล่มสักรวมอยู่ด้วย แต่ได้แยกออกไปเป็นอีกมณฑลหนึ่งในปี พ.ศ. 2442.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและมณฑลนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลเทศาภิบาล

มณฑลเทศาภิบาลคือระบบแบ่งเขตการปกครองส่วนภูมิภาคในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่มีการใช้มาจนถึงสมัยช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่สองประมาณ 7 ปี เป็นการเลียนแบบการปกครองของอังกฤษในพม่าและมาเลเซีย เริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2440 โดยพระราชดำริของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ มณฑลมีข้าหลวงเทศาภิบาลเป็นผู้ปกครอง เจ้าเมืองไม่มีอำนาจที่จะปกครอง หน่วยการปกครองเรียงจากใหญ่ไปเล็กได้ดังนี้ ในปี พ.ศ. 2458 ดินแดนสยามมีมณฑลอยู่ 19 แห่งครอบคลุมพื้นที่ 72 เมือง (เปลี่ยนเป็น จังหวัด ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจตกต่ำจึงทำให้หลายมณฑลถูกยุบรวมกันตั้งแต่ปี พ.ศ. 2468 (มณฑลเพชรบูรณ์ถูกยุบลงไปก่อนหน้านั้นแล้ว) ภายหลังจึงคงเหลืออยู่เพียง 14 มณฑล ได้แก่ กรุงเทพพระมหานคร มณฑลจันทบุรี มณฑลนครชัยศรี มณฑลนครสวรรค์ มณฑลนครศรีธรรมราช มณฑลนครราชสีมา มณฑลปราจีนบุรี มณฑลปัตตานี มณฑลพายัพ มณฑลพิษณุโลก มณฑลภูเก็ต มณฑลราชบุรี มณฑลอยุธยา และมณฑลอุดรธานี ทั้งหมดถูกล้มเลิกไปในปี พ.ศ. 2476 ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อมีการตราพระราชบัญญัติการบริหารราชการส่วนภูมิภาค พุทธศักราช 2476 ขึ้น และนับจากนั้น จังหวัดก็ได้กลายเป็นเขตการปกครองย่อยของประเทศไทยที่มีระดับสูงที.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและมณฑลเทศาภิบาล · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาอิสลาม

นาอิสลาม (Islam) เป็นศาสนาเอกเทวนิยมและศาสนาอับราฮัม บัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของอิสลามซึ่งสาวกถือว่าเป็นพระวจนะคำต่อคำของพระเป็นเจ้า (อัลลอฮฺ) และสำหรับสาวกส่วนใหญ่ เป็นคำสอนและตัวอย่างเชิงบรรทัดฐาน (เรียกว่า สุนัต และประกอบด้วยหะดีษ) ของมุฮัมมัด (ประมาณ 570–8 มิถุนายน 632)เป็นศาสดา (นบี) องค์สุดท้ายของพระเป็นเจ้า สาวกของศาสนาอิสลาม เรียกว่า มุสลิม มุสลิมเชื่อว่า พระเจ้าเป็นหนึ่งและหาที่เปรียบไม่ได้ และจุดประสงค์ของการดำรงอยู่ คือ เพื่อรักและรับใช้พระเป็นเจ้า มุสลิมยังเชื่อว่า ศาสนาอิสลามเป็นบรรพศรัทธาฉบับสมบูรณ์และเป็นสากลที่สุดซึ่งได้ประจักษ์มาหลายครั้งก่อนหน้านั้น ผ่านศาสดาซึ่งรวมอาดัม โนอาห์ อับราฮัม โมเสส และพระเยซู พวกเขายึดมั่นว่า สารและวิวรณ์ถูกแปลผิดหรือเปลี่ยนแปลงบางส่วนตามกาลดู.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและศาสนาอิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาคริสต์

นาคริสต์ (Christianity) ราชบัณฑิตยสถานเรียกว่า คริสต์ศาสนาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 156 เป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ที่มีพื้นฐานมาจากชีวิตและการสอนของพระเยซูตามที่ปรากฏในพระวรสารในสารบบ (canonical gospel) และงานเขียนพันธสัญญาใหม่อื่น ๆ ผู้นับถือศาสนาคริสต์เรียกว่าคริสต์ศาสนิกชนหรือคริสตชน คริสตชนเชื่อว่าพระเยซูเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าผู้มาบังเกิดเป็นมนุษย์และเป็นพระผู้ช่วยให้รอด ด้วยเหตุนี้ คริสตชนจึงมักเรียกพระเยซูว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเมสสิยาห์" Briggs, Charles A. The fundamental Christian faith: the origin, history and interpretation of the Apostles' and Nicene creeds. C. Scribner's sons, 1913.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและศาสนาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนารายณ์มหาราช

มเด็จพระนารายณ์มหาราช หรือ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 3 (พ.ศ. 2174/2175 - 2231; ครองราชย์ พ.ศ. 2199-2231) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 27 ในสมัยกรุงศรีอ.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและสมเด็จพระนารายณ์มหาราช · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณสุข

รณสุข คือศาสตร์และศิลปะที่เกี่ยวข้องกับการดูแลและจัดการสุขภาพทั้งปวงของชุมชนโดยอิงตามการวิเคราะห์ด้านสุขภาพของประชากร คำว่าสุขภาพนั้นมีนิยามและจัดการในลักษณะต่างๆ กันจากหน่วยงานต่างๆ สำหรับองค์การอนามัยโลก แห่งสหประชาชาติ ซึ่งได้กำหนดมาตรฐานและเฝ้าระวังโรคทั่วโลก ได้นิยามคำว่า สุขภาพ ไว้ว่า "สภาพของการมีชีวิตทางกายภาพ ทางจิตใจ และทางสังคมที่สมบูรณ์ ไม่ใช้เพียงไม่มีโรคภัยหรือความแข็งแรงทางกายเท่านั้น" ประชากรที่กล่าวไว้ข้างต้นอาจมีเพียงน้อยนิด หรือปริมาณมหาศาลในระดับทวีปก็ได้ สาธารณสุขมีด้วยกันหลายสาขาย่อย แต่โดยทั่วไปจะแบ่งเป็นหมวดต่างๆ ได้แก่ ระบาดวิทยา (epidemiology), ชีวสถิติ (biostatistics) และบริการสุขภาพ (health services) นอกจากนี้แล้ว สุขภาพเชิงสิ่งแวดล้อม เชิงสังคม และเชิงพฤติกรรม รวมทั้งสุขภาพเชิงอาชีพ ก็เป็นสาขาที่สำคัญของสาธารณสุขด้ว.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและสาธารณสุข · ดูเพิ่มเติม »

สำนวนภาษาปาก

ำนวนภาษาปาก (colloquialism) คือ ภาษาประเภทหนึ่งซึ่งเกิดจากการพูดที่แสดงความคุ้นเคย ไม่เหมาะที่จะใช้เป็นพิธีรีตอง เช่น ตาแป๊ะ ตะบี้ตะบัน เทน้ำเทท่า ทั้งนี้ ภาษาประเภทนี้อาจปรากฏได้ทั้งในภาษาเขียนและภาษาพูด ในพจนานุกรมไทยจะย่อชื่อภาษานี้ว่า "(ปาก)" เช่น "ทาน (ปาก) ก. กิน, กร่อนมาจาก รับประทาน" การใช้ภาษาปากที่แตกต่างจากภาษาแบบแผนหรือภาษามาตรฐานของภาษาหลักนั้น ๆ เมื่อใช้นานไป อาจกลายเป็นมาตรฐานย่อยอย่างหนึ่ง หรืออาจพัฒนาขึ้นเป็นมาตรฐานในภาษานั้นกระทั่งไม่เรียกว่าภาษาปากอีกต่อไปก็ได้หากลักษณะการใช้ภาษาเช่นนั้นเป็นที่ยอมรับและใช้โดยทั่วไป ภาษาปากนั้น แม้จะไม่ใช่ภาษาแบบแผน แต่ไม่จำเป็นว่าจะเป็นภาษาที่ไม่สุภาพเสมอไป หากเป็นลักษณะการใช้ภาษาที่สะดวก ง่าย กะทัดรัด และเป็นกันเอง.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและสำนวนภาษาปาก · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ประเทศไทย)

ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) หรือ "กรมอาชีวศึกษา" (เดิม) เป็นหนึ่งในห้าหน่วยงานหลักของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบกำกับดูแลงานการศึกษาในด้านการอาชีวศึกษา เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการการอาชีวศึกษ.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)

ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา: สกอ.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สำเนียงโคราช

ษาไทยสำเนียงโคราช (Khorat dialect) เป็นภาษาไทยกลุ่มหนึ่งที่ใช้พูดกันในจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดใกล้เคียง เป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาไทยกลาง ที่ออกสำเนียงเหน่อ และมีคำศัพท์ร่วมกับภาษาไทยกลาง และรับคำมาใช้จากภาษาไทยถิ่นอีสาน ภาษาลาว และภาษาเขมร.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและสำเนียงโคราช · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟ

นีรถไฟแกรนด์เซ็นทรัล นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา สถานีรถไฟ คืออาคารหรือกลุ่มอาคาร ที่ใช้เป็นจุดจอด แวะพัก เปลี่ยนขบวน สำหรับการเดินรถไฟ มีการรับส่งผู้โดยสารเป็นภารกิจหลัก และรับส่งสินค้าบ้างเป็นครั้งคราว.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและสถานีรถไฟ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟชุมทางถนนจิระ

นีรถไฟชุมทางถนนจิระ เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 266 กิโลเมตร ตั้งอยู่ที่ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา โทร.0-4424-2363 เป็นชุมทางรถไฟแยกไปหนองคาย และอุบลราชธานี.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและสถานีรถไฟชุมทางถนนจิระ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟนครราชสีมา

นีรถไฟนครราชสีมา (ชื่อสามัญ หัวรถไฟ หรือ หัวรถฯ) สร้างขึ้นในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) เดิมชื่อสถานีโคราช เป็นสถานีรถไฟที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัดนครราชสีมาและในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ตั้งอยู่บนถนนมุขมนตรี ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทางประมาณ 264 กิโลเมตร.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและสถานีรถไฟนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา

นามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา (80th Birthday Stadium or King'80 Stadium) ตั้งอยู่ภายในอาณาเขตของสนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวา 2550(ศูนย์กีฬาโคราช) ตำบลสุรนารี อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา มีความจุทั้งหมด 25,000 ที่นั่ง ในปี..

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและสนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา · ดูเพิ่มเติม »

ห้างสรรพสินค้า

ห้างสรรพสินค้าแห่งหนึ่งในฮ่องกง ห้างสรรพสินค้า (Department store) หรือเรียกสั้นๆ ว่า ห้าง คือร้านค้าขายปลีกขนาดใหญ่ซึ่งมีสินค้าหลากหลายประเภทแยกตามแผนก โดยไม่มีการขายผ่านตัวแทนจำหน่าย (ห้างเป็นผู้นำสินค้ามาขายเอง) ห้างสรรพสินค้ามักขายผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับเสื้อผ้า เครื่องเรือน เครื่องใช้ในบ้าน เครื่องใช้ไฟฟ้า รวมไปถึงสายผลิตภัณฑ์อื่นๆ อย่างเช่น ฮาร์ดแวร์ สุขภัณฑ์ เครื่องสำอาง เครื่องเพชรพลอย เครื่องเขียน ของเล่น อุปกรณ์กีฬา เป็นต้น ห้างสรรพสินค้าบางแห่งอาจขายเฉพาะสินค้าลดราคา และมีพื้นที่ชำระเงินเป็นศูนย์กลาง ซึ่งโดยทั่วไปจะอยู่บริเวณด้านหน้าของห้าง ซึ่งจะไม่มี ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ หรืออาหารสด ขายห้างสรรพสินค้ามักเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มของร้านค้าย่อยที่อยู่ภายใต้บริษัทเดียวกันกับพื้นที่ใกล้เคียง ห้างสร้างสรรพสินค้าแห่งแรกของประเทศไทย มีชื่อว่า "ห้างไนติงเกล" หรือชื่อเต็มคือ "ไนติงเกล โอลิมปิค" เป็นห้างที่มีอายุยาวนานมาเกือบ 80 ปี และในทุกวันนี้ก็ยังให้บริการอยู่ เริ่มแรกห้างดังกล่าวได้ตั้งขึ้นอยู่บริเวณแยกพาหุรัด เริ่มเปิดกิจการเมื่อปี..

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและห้างสรรพสินค้า · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบัวลาย

ัวลาย เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครราชสีม.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและอำเภอบัวลาย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบัวใหญ่

ัวใหญ่ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครราชสีม.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและอำเภอบัวใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบ้านเหลื่อม

้านเหลื่อม เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครราชสีม.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและอำเภอบ้านเหลื่อม · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสูงเนิน

ูงเนิน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครราชสีม.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและอำเภอสูงเนิน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสีคิ้ว

ีคิ้ว เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครราชสีม.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและอำเภอสีคิ้ว · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอห้วยแถลง

ห้วยแถลง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครราชสีม.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและอำเภอห้วยแถลง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอจักราช

ักราช เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครราชสีม.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและอำเภอจักราช · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอคง

ง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครราชสีม.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและอำเภอคง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอปากช่อง

ปากช่อง เป็นอำเภอแรกสุดของการเดินทางจากถนนมิตรภาพเข้าสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและอำเภอปากช่อง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอโนนสูง

นนสายหลักในอำเภอโนนสูง ถนนสายหลักในอำเภอโนนสูง สถานีรถไฟโนนสูง อำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา เดิมชื่อ อำเภอกลาง ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น อำเภอโนนวัด และอำเภอโนนสูงตามลำดับ เป็นอำเภอที่เป็นทางสัญจรสำคัญอำเภอหนึ่ง มีทั้งถนนมิตรภาพ ทางรถไฟ แม่น้ำมูล และแม่น้ำลำเชิงไกรไหลผ่าน และมีพื้นที่ติดกับอำเภอเมืองนครราชสีมา ประชากรส่วนใหญ่เกือบทั้งหมดเป็นชาวไทยโคราช จะมีชาวไทยอีสานบ้างเล็กน้อย และมีชาวไทยเชื้อสายจีนบ้างในตัวอำเภอ ชาวอำเภอโนนสูงส่วนใหญ่จะมีนามสกุลลงท้ายด้วยคำว่า "กลาง" ซึ่งเป็นชื่อเดิมของอำเภอ เช่นเดียวกับอำเภออื่น ๆ ในจังหวัดนครราชสีมา ที่นิยมลงท้ายนามสกุลด้วยชื่ออำเภอ.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและอำเภอโนนสูง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองนครราชสีมา

อำเภอเมืองนครราชสีมา เป็นอำเภอหนึ่งในจำนวนอำเภอทั้งหมด 32 อำเภอของจังหวัดนครราชสีมา เป็นที่ตั้งของศาลากลางจังหวัด และหน่วยงานราชการต่าง ๆ และเป็นศูนย์กลางความเจริญของจังหวั.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและอำเภอเมืองนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

อุตสาหกรรม

อุตสาหกรรม (Industry) เป็นคำจำกัดความที่ใช้กับกิจกรรมที่ใช้ทุนและแรงงาน เพื่อที่จะผลิตสิ่งของ หรือ จัดให้มีบริการ เช่น อุตสาหกรรมสิ่งทอ ในยุควิกตอเรีย นักประวัติศาสตร์เรียกช่วงเวลานั้นว่า การปฏิวัติอุตสาหกรรม โดยมีการผลิตเครื่องทุ่นแรงต่าง ๆ มากมาย และ ทำให้อุตสาหกรรมเจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็วและมีระเบียบ เป็นมาตรฐานเดียวกันทั้งหมด นอกจากนี้ การปฏิวัติอุตสาหกรรมยังเกี่ยวของกับลัทธิสังคมนิยมของคาร์ล มาร์กซ (ลัทธิมาร์กซ) อีกด้วย ในปัจจุบันอุตสาหกรรมถือเป็นสิ่งหนึ่งที่จำเป็นต่อมนุษย์อย่างยิ่ง ด้วยว่ามนุษย์ต้องพึ่งพาการผลิตสิ่งที่จำเป็นต่อชีวิตประจำวัน หรือเรียกรวมว่าปัจจัยสี่ โดยสิ่งที่สามารถผลิตปัจจัยสี่ให้ดี มีคุณภาพและไม่ก่ออันตราย หรือก่ออันตรายให้กับร่างกายและทรัพย์สินน้อยที่สุด การปั่นด้ายในโรงงานอุตสาหกรรมช่วงยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและอุตสาหกรรม · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านเกาะ

องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านเกาะ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านเกาะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัด

ังหวัด หรือมณฑล (province) คือชื่อเรียกหน่วยการปกครองระดับหนึ่ง โดยปกติจะเป็นระดับใหญ่ที่สุดในประเทศ หรือรัฐ (ลำดับแรกในการแบ่งการปกครอง) คำว่าจังหวัดใช้เรียก province ในประเทศไทย ส่วนมณฑลใช้กับบางประเทศ เช่น มณฑลยูนนาน (Yunnan Province) ในประเทศจีน หรือ.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครราชสีมา

นครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยและมีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อเมืองนครราชสีมาปรากฏครั้งแรกเป็นเมืองพระยามหานครในการปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา) ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงมีรับสั่งให้ย้ายเมืองนครราชสีมามาตั้งบริเวณพื้นที่ปัจจุบัน เมื่อ..

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและจังหวัดนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

ถนนมิตรภาพ

นนมิตรภาพ ซึ่งเป็นชื่อเรียกของ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 หรือ ทางหลวงสายสระบุรี–สะพานมิตรภาพที่หนองคาย (เขตแดนไทย/ลาว) เป็นหนึ่งในทางหลวงสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย โดยสายทางเริ่มต้นที่จังหวัดสระบุรี มุ่งเข้าสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย และสิ้นสุดที่จังหวัดหนองคาย มีระยะทางทั้งสิ้น 509 กิโลเมตร และเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 12 ถนนมิตรภาพเป็นทางหลวงที่ได้รับความช่วยเหลือจากรัฐบาลสหรัฐอเมริกาในด้านงบประมาณการก่อสร้าง เทคนิควิชาการในการก่อสร้าง นับเป็นทางหลวงสายแรกที่ก่อสร้างถูกต้องตามแบบมาตรฐานการก่อสร้างทางหลวงทุกขั้นตอน และเป็นทางหลวงสายแรกของประเทศไทยที่มีผิวจราจรลาดยางแบบแอสฟอลต์คอนกรีต โดยเปิดให้บริการเมื่อปี..

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและถนนมิตรภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนมุขมนตรี

นนมุขมนตรี เป็นถนนในเขตเทศบาลนครนครราชสีมา เชื่อมระหว่างห้าแยกหัวรถไฟ บริเวณหน้าสำนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดนครราชสีมา ถนนมุขมนตรีเป็นถนนแยกที่หนึ่งของห้าแยกหัวรถไฟ ตัดผ่านสถานีรถไฟนครราชสีมา ย่านสวายเรียง วัดหนองจะบก วัดใหม่อัมพวัน ย่านอัมพวัน วัดสวนพริกไทย วัดหลักร้อย ทางหลวงหมายเลข 2 (เลี่ยงมือง) วัดภูเขาลาด สิ้นสุดที่บ้านภูเขาลาด ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านใหม่ ถนนมุขมนตรีเป็นถนนสายหลักแนวตะวันตก-ตะวันออก ตัดผ่านเขตชุมชนที่มีความหนาแน่นปานกลางในเขตเทศบาลนครนครราชสีมา แต่ถนนยังมีแค่สองช่องทางซึ่งไม่สามารถรองรับปริมาณการจราจรในชั่วโมงเร่งด่วน.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและถนนมุขมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสืบศิริ

นนสืบศิริ (Thanon Suep Siri) เป็นถนนส่วนหนึ่งของ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 อยู่ในช่วงสุดท้ายจากจำนวนถนนทั้งหมด 8 ช่วง เริ่มจากแยกเข้าเมืองปักธงชัย อำเภอปักธงชัย จนถึง สามแยกวัดใหม่อัมพวัน อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ชื่อถนน "สืบศิริ" ตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่ นายจำรัส สืบศิริ อดีตนายช่างกำกับการเขตการทางนครราชสีมา ช่วงปี..

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและถนนสืบศิริ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสุรนารายณ์

นนสุรนารายณ์ หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 205 สายบ้านหมี่–สามแยกสุรนารายณ์ เป็นเส้นทางที่เชื่อมต่อการจราจรระหว่างจังหวัดลพบุรี จังหวัดชัยภูมิ และจังหวัดนครราชสีมา มีระยะทางตลอดทั้งสาย 231.085 กิโลเมตร ขนาด 2 ช่องจราจรสลับกับ 4 ช่องจราจร.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและถนนสุรนารายณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสุรนารี

นนสุรนารี เป็นถนนในเขตเทศบาลนครนครราชสีมา เชื่อมระหว่างห้าแยกหัวรถไฟ กับถนนราชดำเนินบริเวณคูเมืองนครราชสีมา ถนนสุรนารีเป็นถนนแยกที่สองของห้าแยกหัวรถไฟ ถนนสุรนารีตัดผ่านถนนลำปรุ (ตรอกลำปรุ) ถนนจันทน์ (ตรอกจันทน์) ถนนเกษตร (ตรอกเกษตร) ถนนโยธา ถนนบุรินทร์และถนนบัวรอง ถนนสุรนารีเป็นถนนสายหลักแนวตะวันตก-ตะวันออก ตัดผ่านเขตชุมชนที่มีความหนาแน่นมากในเขตเทศบาลนครนครราชสีมา แต่ถนนบางช่วงมีแค่สองช่องทางซึ่งไม่สามารถรองรับปริมาณการจราจรในชั่วโมงเร่งด่วน.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและถนนสุรนารี · ดูเพิ่มเติม »

ถนนจอมสุรางค์ยาตร

นนจอมสุรางค์ยาตร พ.ศ. 2454 ถนนจอมสุรางค์ยาตร พ.ศ. 2550 ถนนจอมสุรางค์ยาตร หรือ ถนนจอมสุรางค์ เป็นถนนสายหลักแนวระหว่างทิศตะวันออก - ทิศตะวันตก ในเขตเมืองใหม่ นอกคูเมืองและแนวกำแพงเมืองนครราชสีมา บริเวณทิศตะวันตกของตัวเมืองเก่า ตัดผ่านชุมชนหนาแน่นภายในเขตเทศบาลนครนครราชสีมา ผิวจราจรแบบลาดยางแอสฟัลติก คอนกรีต (Asphaltic Concrete) จำนวน 2 ช่องทางจราจร และ ช่องทางสำหรับจอดรถทั้ง 2 ฝั่ง พร้อมระบบระบายน้ำ และทางเท้าสำหรับคนเดิน มีความยาวถนนประมาณ 1.5 กิโลเมตร สำหรับชื่อถนนนั้น สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 5 ได้พระราชทานชื่อ "ถนนจอมสุรางค์ยาตร" และ ทรงเปิดถนนเส้นนี้ เมื่อครั้งที่เสด็จพระราชดำเนินมายังเมืองนครราชสีมา และ พิมาย เมื่อ ปี..

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและถนนจอมสุรางค์ยาตร · ดูเพิ่มเติม »

ถนนโพธิ์กลาง

นนโพธิ์กลาง เป็นถนนในเขตเทศบาลนครนครราชสีมา เชื่อมระหว่างห้าแยกหัวรถไฟ กับถนนราชดำเนินบริเวณคูเมืองนครราชสีมาที่อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี ถนนโพธิ์กลางเป็นถนนแยกที่สามของห้าแยกหัวรถไฟ ถนนโพธิ์กลางตัดผ่านถนนเทศบาล ถนนเกษตร(ตรอกเกษตร) ถนนโยธา และถนนบัวรอง ถนนโพธิ์กลางเป็นถนนสายหลักแนวตะวันตก-ตะวันออก ตัดผ่านเขตชุมชนที่มีความหนาแน่นมากในเขตเทศบาลนครนครราชสีมา แต่ถนนบางช่วงมีแค่สองช่องทางซึ่งไม่สามารถรองรับปริมาณการจราจรในชั่วโมงเร่งด่วน.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและถนนโพธิ์กลาง · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 224

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 224 สายนครราชสีมา–หินโคน เป็นเส้นทางที่เชื่อมต่อการจราจรระหว่างจังหวัดนครราชสีมา กับอำเภอที่อยู่ติดกับพรมแดนประเทศกัมพูชาของจังหวัดบุรีรัมย์ และจังหวัดสุรินทร์ รวมระยะทางทั้งหมด 225.356 กิโลเมตร และเป็นเส้นทางที่เชื่อมต่อระหว่างเทศบาลนครนครราชสีมาไปยังประเทศกัมพูชาได้ เส้นทางเริ่มต้นทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ มีเส้นทางแยกมาจากถนนมิตรภาพ ที่ทางแยกนครราชสีมา ในเขตเทศบาลนครนครราชสีมา อำเภอเมืองนครราชสีมา ไปทางทิศตะวันออก จากนั้นจึงตัดกับถนนสุรนารายณ์ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 205) จากนั้นโค้งลงทิศใต้ไปยังอำเภอโชคชัย แล้วตัดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24 (ช่วงถนนเดชอุดม) เรียกถนนในช่วงนี้ว่า ถนนราชสีมา–โชคชัย จากเส้นทางผ่านอำเภอครบุรี และอำเภอเสิงสาง จังหวัดนครราชสีมา จากนั้นเส้นทางจะขนานไปกับพรมแดนไปทางทิศตะวันออก เข้าเขตจังหวัดบุรีรัมย์ ผ่านอำเภอปะคำ อำเภอละหานทราย อำเภอบ้านกรวด แล้วเข้าสู่จังหวัดสุรินทร์ ผ่านอำเภอพนมดงรัก และไปบรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 214 ที่ทางแยกหินโคน ตำบลโคกตะเคียน อำเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ ซึ่งหากเลี้ยวไปทางขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 214 ก็จะสามารถออกสู่ประเทศกัมพูชาได้.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 224 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 สายปากเกร็ด–สะพานต่างระดับนครราชสีมา เป็นทางหลวงแผ่นดินสายรองประธานที่เชื่อมระหว่างจังหวัดนนทบุรี กรุงเทพมหานคร จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดปราจีนบุรี และจังหวัดนครราชสีมา มีจุดเริ่มต้นบนถนนติวานนท์ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306) ที่ห้าแยกปากเกร็ด ในอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี และสิ้นสุดบนถนนมิตรภาพ กับทางเลี่ยงเมืองนครราชสีมาด้านตะวันตก (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 204) ที่ทางแยกต่างระดับนครราชสีมา ในอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ระยะทางทั้งสิ้น 298.515 กิโลเมตร อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง 296.707 กิโลเมตร.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนครราชสีมา

ท่าอากาศยานนครราชสีมา หรือ สนามบินโคราช (Nakhon Ratchasima Airport) ตั้งอยู่ที่ ตำบลท่าช้าง อ.เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติหนองเต็ง-จักราช ตั้งอยู่ห่างจากตัวเมืองนครราชสีมาไปทางทิศเหนือระยะทางประมาณ 26 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 4,625 ไร่ เป็นท่าอากาศยานในสังกัดกรมท่าอากาศยาน กระทรวงคมนาคม สร้างขึ้นเพื่อใช้แทนท่าอากาศยานกองบิน 1 นครราชสีมา ซึ่งเป็นท่าอากาศยานของกองทัพอากาศ ท่าอากาศยานนครราชสีมาได้รับการประกาศให้เป็นท่าอากาศยานศุลกากร สามารถรองรับเที่ยวบินระหว่างประเทศได้.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและท่าอากาศยานนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวสุรนารี

อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี ท้าวสุรนารี หรือ คุณหญิงโม (ต้นฉบับว่า ท่านผู้หญิงโม้)ทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค), เจ้าพร.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและท้าวสุรนารี · ดูเพิ่มเติม »

ตาราง

ตัวอย่างตารางแสดงผลข้อมูล ตาราง เป็นทั้งรูปแบบการแสดงข้อมูลเพื่อใช้ในการสื่อสาร และการจัดเรียงข้อมูล มีปรากฏการใช้งานทั้งในสื่อสิ่งพิมพ์ การเขียนด้วยมือ ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ และในสื่อหลายแห่ง รูปแบบของตารางมีความหลากหลายทั้งทางด้านโครงสร้าง โดยมีส่วนประกอบที่สำคัญของตารางคือ "แถว" (มีการเรียกว่า สดมภ์) และ "หลัก" หมวดหมู่:อินโฟกราฟิกส์.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและตาราง · ดูเพิ่มเติม »

ประตูเมืองนครราชสีมา

ประตูเมืองนครราชสีมารวมทั้ง กำแพงเมือง และ คูเมือง เป็นสิ่งก่อสร้างที่เป็นสัญลักษณ์หนึ่งของตัวเมืองนครราชสีมา ที่ได้ก่อสร้างขึ้นในสมัยอยุธยา ปัจจุบันมีประตูชุมพลที่ยังคงรูปลักษณ์เดิมอยู่ได้ และนับเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญแห่งหนึ่งของนครราชสีม.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและประตูเมืองนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

ป้อมสนาม

กำแพงเมืองจีน ที่มีหอสังเกตการณ์ประเป็นระยะๆ เป็น “ระบบป้อมปราการ” ชนิดหนึ่ง ป้อมสนาม (Fortification) คือสิ่งก่อสร้างทางยุทธศาสตร์หรือตึกที่ออกแบบเพื่อการป้องกันตนเองในยามสงครามหรือใช้เป็นที่มั่น การสร้างระบบป้อมปราการเป็นการก่อสร้างที่เริ่มทำกันมาเป็นเวลาหลายพันปีในรูปแบบที่เริ่มตั้งแต่เพียงโครงสร้างง่ายๆ มาจนเป็นระบบที่สลับซับซ้อน เช่นในการสร้างป้อมดาวในยุคกลาง ในภาษาอังกฤษ “Fortification” แผลงมาจากภาษาลาติน “Fortis” ที่แปลว่า “แข็งแรง” และคำว่า “Facere” ที่แปลว่า “สร้าง”.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและป้อมสนาม · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา

รงพยาบาลมหาราชนครนครราชสีมา ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลนครนครราชสีมา ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2452 เป็นโรงพยาบาลศูนย์ประจำจังหวัดนครราชสีมา เป็นโรงพยาบาลศูนย์ในภูมิภาคที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข มีจำนวนเตียงรองรับผู้ป่วยได้ 1,680 เตียง.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลค่ายสุรนารี

รงพยาบาลค่ายสุรนารี เป็นโรงพยาบาลประจำกองทัพภาคที่ 2 ค่ายสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา ในสังกัดกองทัพบก.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและโรงพยาบาลค่ายสุรนารี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนบุญวัฒนา

รงเรียนบุญวัฒนา (Boonwattana School) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทสหศึกษา และเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดนครราชสีมา แห่งที่ 3 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 3 มกราคม 2516.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและโรงเรียนบุญวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย

กด้านบนบริเวณ โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย 15 มีนาคม 2489 ภาพถ่ายจากด้านบนบริเวณโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย ในสมัยก่อน ซึ่งน่าจะถ่ายก่อน ปี 2515 บริเวณโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย พ.ศ. 2552 (มุมสูง) บริเวณด้านหน้าตึก 1 และเป็นบริเวณเข้าแถว เสาธงต้นใหม ป็นเสาธงของสถานศึกษาระดับต่ำกว่าอุดมศึกษาที่มีขนาดใหญ่ที่สุด โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย(อักษรย่อ: ร.ส., R.S.)เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทโรงเรียนชายล้วน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตั้งอยู่เลขที่ 1753 ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองจังหวัดนครราชสีม.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสุรนารีวิทยา

รงเรียนสุรนารีวิทยา (อักษรย่อ: ส.ร.น., S.R.N) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประจำจังหวัดนครราชสีมาประเภทโรงเรียนหญิงล้วน เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 6 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสุรนารีวิทยา ได้จัดการศึกษาจนเป็นที่ยอมรับของสังคมในการเป็นสถานศึกษาชั้นนำของโรงเรียนมัธยมศึกษาของไทย เป็นสถานศึกษาที่ได้รับรางวัลพระราชทานระดับมัธยมศึกษาประจำปีการศึกษา 2523 และได้รับรางวัลพระราชทานระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประจำปีการศึกษา 2535 โรงเรียนสุรนารีวิทยาเป็นโรงเรียนที่มีต้นกำเนิดของโรงเรียนมัธยมแบบประสม (Comprehensive School) แห่งแรกของประเทศไทย ซึ่งได้รับการพัฒนาด้วยความเอาใส่ ทุ่มเท เสียสละอย่างต่อเนื่องจากผู้บริหาร บุคลากรของโรงเรียนตลอดจนนักเรียนและสังคมตลอดม.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและโรงเรียนสุรนารีวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

เกษตรกรรม

กษตรกรรม (agriculture) เป็นการเพาะปลูกพืช เห็ดรา เลี้ยงสัตว์ และรูปแบบของชีวิตแบบอื่น ๆ เพื่อเป็นอาหาร เส้นใย เชื้อเพลิงชีวภาพ ยารักษาโรคและผลิตภัณฑ์อื่นเพื่อความยั่งยืนและเพิ่มสมรรถนะชีวิตมนุษย์ เกษตรกรรมเป็นพัฒนาการที่สำคัญในความเจริญของอารยธรรมมนุษย์ที่ไม่ย้ายที่อยู่ซึ่งการเพาะปลูกหรือเลี้ยงสัตว์ในสปีชีส์ที่ถูกทำให้เชื่องได้ผลิตอาหารส่วนเกิน ซึ่งช่วยหล่อเลี้ยงพัฒนาการของอารยธรรม การศึกษาด้านเกษตรกรรมถูกเรียกว่า เกษตรศาสตร์ ประวัติศาสตร์ของเกษตรกรรมย้อนกลับไปหลายพันปี และการพัฒนาของมันได้ถูกขับเคลื่อนโดยความแตกต่างอย่างมากของภูมิอากาศ วัฒนธรรมและเทคโนโลยี อย่างไรก็ตาม เกษตรกรรมทั้งหมดโดยทั่วไปพึ่งพาเทคนิคต่างๆเพื่อการขยายและบำรุงที่ดินที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงสปีชีส์ที่ถูกทำให้เชื่อง สำหรับพืช เทคนิคนี้มักอาศัยการชลประทานบางรูปแบบ แม้จะมีหลายวิธีการของเกษตรกรรมในพื้นที่แห้งแล้งอยู่ก็ตาม ปศุสัตว์จะถูกเลี้ยงในระบบทุ่งหญ้าผสมกับระบบที่ไม่เป็นเจ้าของที่ดิน ในอุตสาหกรรมที่ครอบคลุมพื้นที่เกือบหนึ่งในสามของพื้นที่ที่ปราศจากน้ำแข็งและปราศจากน้ำของโลก ในโลกพัฒนาแล้วเกษตรอุตสาหกรรมที่ยึดการปลูกพืชเชิงเดี่ยวขนาดใหญ่ได้กลายเป็นระบบเกษตรกรรมสมัยใหม่ที่โดดเด่น แม้ว่าจะมีแรงสนับสนุนที่เพิ่มมากขึ้นสำหรับเกษตรกรรมแบบยั่งยืน รวมถึงเกษตรถาวรและเกษตรกรรมอินทรีย์ จนกระทั่งมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่ของประชากรมนุษย์ทำงานในภาคการเกษตร การเกษตรแบบก่อน-อุตสาหกรรมโดยทั่วไปเป็นการเกษตรเพื่อการดำรงชีวิต/การพึ่งตัวเองในที่ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกพืชเพื่อการบริโภคของตัวเองแทน'พืชเงินสด'เพื่อการค้า การปรับเปลี่ยนที่โดดเด่นในการปฏิบัติทางการเกษตรได้เกิดขึ้นในช่วงศตวรรษที่ผ่านมาในการตอบสนองต่อเทคโนโลยีใหม่ๆและการพัฒนาของตลาดโลก มันยังได้นำไปสู่การปรับปรุงด้านเทคโนโลยีในเทคนิคการเกษตร เช่นวิธีของ 'ฮาเบอร์-Bosch' สำหรับการสังเคราะห์แอมโมเนียมไนเตรตซึ่งทำให้การปฏิบัติแบบดั้งเดิมของสารอาหารที่รีไซเคิลด้วยการปลูกพืชหมุนเวียนและมูลสัตว์มีความสำคัญน้อยลง เศรษฐศาสตร์การเกษตร การปรับปรุงพันธุ์พืช เกษตรเคมีเช่นยาฆ่าแมลงและปุ๋ยและการปรับปรุงเทคโนโลยีที่ทันสมัยได้เพิ่มอัตราผลตอบแทนอย่างรวดเร็วจากการเพาะปลูก แต่ในเวลาเดียวกันได้ทำให้เกิดความเสียหายของระบบนิเวศอย่างกว้างขวางและผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ในเชิงลบ การคัดเลือกพันธุ์และการปฏิบัติที่ทันสมัยในการเลี้ยงสัตว์ได้เพิ่มขึ้นในทำนองเดียวกันของการส่งออกของเนื้อ แต่ได้เพิ่มความกังวลเกี่ยวกับสวัสดิภาพของสัตว์และผลกระทบต่อสุขภาพของยาปฏิชีวนะ ฮอร์โมนที่สร้างการเจริญเติบโต และสารเคมีอื่นๆที่ใช้ทั่วไปในอุตสาหกรรมการผลิตเนื้อสัตว์ สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมเป็นองค์ประกอบที่เพิ่มขึ้นของการเกษตร แม้ว่าพวกมันจะเป็นสิ่งต้องห้ามในหลายประเทศ การผลิตอาหารการเกษตรและการจัดการน้ำจะได้กลายเป็นเป็นปัญหาระดับโลกเพิ่มขึ้นที่ได้รับการสนับสนุนให้เกิดการอภิปรายเกี่ยวกับจำนวนของ fronts การเสื่อมสลายอย่างมีนัยสำคัญของทรัพยากรดินและน้ำ รวมถึงการหายไปของชั้นหินอุ้มน้ำ ได้รับการตั้งข้อสังเกตในทศวรรษที่ผ่านมา และผลกระทบของภาวะโลกร้อนกับการเกษตรและผลของการเกษตรต่อภาวะโลกร้อนยังคงไม่เป็นที่เข้าใจอย่างเต็มที่ สินค้าเกษตรที่สำคัญสามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มกว้างๆได้แก่อาหาร เส้นใย เชื้อเพลิง และวัตถุดิบ อาหารที่เฉพาะได้แก่(เมล็ด)ธัญพืช ผัก ผลไม้ น้ำมันปรุงอาหาร เนื้อสัตว์และเครื่องเทศ เส้นใยรวมถึงผ้าฝ้าย ผ้าขนสัตว์ ป่าน ผ้าไหมและผ้าลินิน วัตถุดิบได้แก่ ไม้และไม้ไผ่ วัสดุที่มีประโยชน์อื่นๆมีการผลิตจากพืช เช่นเรซิน สีธรรมชาติ ยา น้ำหอม เชื้อเพลิงชีวภาพและผลิตภัณฑ์ใช้ประดับเช่นไม้ตัดดอกและพืชเรือนเพาะชำ กว่าหนึ่งในสามของคนงานในโลกมีการจ้างงานในภาคเกษตร เป็นที่สองรองจากภาคบริการเท่านั้น แม้ว่าร้อยละของแรงงานเกษตรในประเทศที่พัฒนาแล้วได้ลดลงอย่างมีนัยสำคัญในช่วงหลายศตวรรษที่ผ่านม.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและเกษตรกรรม · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาล

ำนักงานเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี เทศบาล เป็นรูปแบบการปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่งที่ใช้ในประเทศไทยปัจจุบัน การปกครองรูปแบบเทศบาลเป็นการกระจายอำนาจให้แก่ท้องถิ่นดำเนินการปกครองตนเองตามระบอบประชาธิปไตย เกิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเริ่มจากการจัดตั้งสุขาภิบาลกรุงเทพฯ ร..116 (พ.ศ. 2440) โดยมีพระราชกำหนดสุขาภิบาลกรุงเทพฯ ร.ศ. 116 ในส่วนภูมิภาค มีการตราพระราชบัญญัติจัดการสุขาภิบาลท่าฉลอม ร.ศ. 124 (พ.ศ. 2448) ขึ้นมีวิวัฒนาการเรื่อยมา จนถึงปี พ.ศ. 2475 ได้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ได้มีการกระจายอำนาจการปกครองที่สมบูรณ์แบบยิ่งขึ้น โดยมีการจัดตั้งเทศบาลขึ้นในปี พ.ศ. 2476 โดยมีการตราพระราชบัญญัติจัดระเบียบเทศบาล..

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและเทศบาล · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลบ้านใหม่ (จังหวัดนครราชสีมา)

ทศบาลตำบลบ้านใหม่ เป็นเทศบาลตำบลแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ในอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีม.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและเทศบาลตำบลบ้านใหม่ (จังหวัดนครราชสีมา) · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลสุรนารี

ทศบาลตำบลสุรนารี เป็นเทศบาลตำบลแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ในอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีม.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและเทศบาลตำบลสุรนารี · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลหัวทะเล

ทศบาลตำบลหัวทะเล เป็นเทศบาลแห่งหนึ่งในอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ในอดีตมีฐานะเป็น องค์การบริหารส่วนตำบลหัวทะเล.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและเทศบาลตำบลหัวทะเล · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลหนองไผ่ล้อม

ทศบาลตำบลหนองไผ่ล้อม ตั้งอยู่บนถนนพิบูลละเอียด ตำบลหนองไผ่ล้อม อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา เป็นเทศบาล 1 ใน 9 แห่งของเทศบาลในเขตอำเภอเมืองนครราชสีมา แต่เดิมเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลหนองไผ่ล้อม ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2547 จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลตำบล.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและเทศบาลตำบลหนองไผ่ล้อม · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลปรุใหญ่

ทศบาลตำบลปรุใหญ่ เป็นเทศบาลตำบลแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ในอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีม.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและเทศบาลตำบลปรุใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลโพธิ์กลาง

ทศบาลตำบลโพธิ์กลาง ตั้งอยู่บน ถนนสายบ้านหนองพลวงน้อย ตำบลโพธิ์กลาง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา เป็นเทศบาล 1 ใน 9 แห่ง ของเทศบาลในเขตอำเภอเมืองนครราชสีมา แต่เดิม เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลโพธิ์กลาง ต่อมาเมื่อปี..

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและเทศบาลตำบลโพธิ์กลาง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลนครนครราชสีมา

นครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นเทศบาลนครแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ในอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา เป็นเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นที่ตั้งของศาลากลางจังหวัด ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้กำหนดให้เป็นเมืองหลักของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นศูนย์กลางการค้า การพาณิชย์ การคมนาคมทางบก และอุตสาหกรรม โดยปี..

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและเทศบาลนครนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลนครในประเทศไทย

ในประเทศไทย เทศบาลนคร เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสำหรับเมืองขนาดใหญ่ที่มีประชากรตั้งแต่ 50,000 คนขึ้นไปและมีรายได้พอเพียงต่อการให้บริการสาธารณะตามหน้าที่ที่กฎหมายบัญญัติไว้ การจัดตั้งเทศบาลนครกระทำโดยประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะเป็นเทศบาลนครตามพระราชบัญญัติเทศบาล..

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและเทศบาลนครในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

เทอร์มินอล 21 โคราช

ทอร์มินอล 21 โคราช หรือ Terminal21 Korat เป็นศูนย์การค้าขนาดใหญ่แห่งหนึ่งในจังหวัดนครราชสีมา บริหารงานโดย สยามรีเทล ดีเวลอปเมนท์ โดยพัฒนาในแนวคิด "จุดหมายปลายทางแห่งการชอปปิ้ง (World Market Street)" แบบเดียวกับเทอร์มินอล 21 สาขาแรก ใช้งบในการลงทุนก่อสร้างศูนย์การค้า 6,000 ล้านบาท และงบลงทุนในการก่อสร้างโรงแรม 1,500 ล้านบาท โดยศูนย์การค้าเปิดให้บริการในวันที่ 19 ธันวาคม..

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและเทอร์มินอล 21 โคราช · ดูเพิ่มเติม »

เขตการปกครองของประเทศไทย

ตการปกครองของประเทศไทย แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบคือ การปกครองส่วนกลาง การปกครองส่วนภูมิภาค และการปกครองส่วนท้องถิ่น.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและเขตการปกครองของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

เดอะมอลล์ โคราช

อะมอลล์ โคราช หรือ ศูนย์การค้าเดอะมอลล์ ช็อปปิ้ง เซ็นเตอร์ นครราชสีมา (The Mall Shopping Center Nakhonratchasima) ตั้งอยู่ริมถนนมิตรภาพ ในพื้นที่ อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา เปิดบริการวันที่ 10 สิงหาคม..

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและเดอะมอลล์ โคราช · ดูเพิ่มเติม »

เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา

ซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา (อังกฤษ: CentralPlaza Nakhon Ratchasima) เป็นโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ขนาดใหญ่ในจังหวัดนครราชสีมา ประกอบด้วยศูนย์การค้า โรงแรม และคอนโดมิเนียม มีพื้นที่รวมเฉพาะส่วนศูนย์การค้าใหญ่เป็นอันดับ 3 ของศูนย์การค้าโดยกลุ่มเซ็นทรัล รองจากเซ็นทรัลเวิลด์ และเซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต ตั้งอยู่บนเนื้อที่ 65 ไร่ http://www.koratdaily.com/blog.php?id.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและเซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

25 กันยายน

วันที่ 25 กันยายน เป็นวันที่ 268 ของปี (วันที่ 269 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 97 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เทศบาลนครนครราชสีมาและ25 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

เมืองนครราชสีมาเมืองโคราชเทศบาลเมืองนครราชสีมาเขตนครนครราชสีมาและปริมณฑล

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »