โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เปลื้อง ฉายรัศมี

ดัชนี เปลื้อง ฉายรัศมี

ปลื้อง ฉายรัศมี ศิลปินแห่งชาติปี พ.ศ. 2529 สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีอีสานพื้นบ้าน-โปงลาง) นักดนตรีพื้นบ้านอีสานที่มีความสามารถพิเศษสามารถเล่นและถ่ายทอดการเล่น ดนตรีพื้นบ้านอีสานได้เกือบทุกชนิด ทั้ง พิณ แคน ซอ โปงลางและอื่นๆ โดยเฉพาะ "โปงลาง" นั้น สามารถเล่นและถ่ายทอดการเล่นได้เป็นพิเศษ และที่สำคัญที่สุดคือ เป็นผู้ศึกษา ค้นคว้า ปรับปรุงและพัฒนาโปงลางมาตลอดระยะเวลา 40 ปี จนทำให้ "เกราะลอ" ซึ่งเป็นเพียงสิ่งที่ใช้ตีไล่นก กา ตามไร่ ตามนา พัฒนามาเป็น "โปงลาง" ที่มีสภาพเป็นเครื่องดนตรีที่มีเสียงไพเราะ กังวาน และให้ความรู้สึกของความเป็นพื้นบ้านอีสานอย่างแท้จริงเป็นที่นิยมกันแพร่ หลายและยอมรับกันว่า "โปงลาง" เป็น เครื่องดนตรีเอกลักษณ์ของภาคอีสานเคียงคู่กับ "แคน" ซึ่งมีอยู่ก่อนแล้ว จึงสมควรยกย่องและเชิดชู นายเปลื้อง ฉายรัศมี ไว้ในฐานะเป็นศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีพื้นบ้าน) อย่างแท้จริง ดังนั้นคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติได้ประกาศเกียรติคุณ ยกย่อง นายเปลื้อง ฉายรัศมี ให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีพื้นบ้าน) ประจำปี พุทธศักราช ๒๕๒๙ และได้รับพระราชทานโล่ เข็มเชิดชูเกียรติในวันเสาร์ที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๓๐ ซึ่งเป็นวันศิลปินแห่งชาติ จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรล.

19 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2502พ.ศ. 2510พ.ศ. 2516พ.ศ. 2520พ.ศ. 2524พ.ศ. 2529กรมส่งเสริมวัฒนธรรมวิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ศิลปินแห่งชาติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีอำเภออำเภอเมืองกาฬสินธุ์อำเภอเขาวงจังหวัดกาฬสินธุ์จังหวัดอุบลราชธานีแคนโปงลางโปงลางสะออนเขื่อนลำปาว

พ.ศ. 2502

ทธศักราช 2502 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1959 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เปลื้อง ฉายรัศมีและพ.ศ. 2502 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2510

ทธศักราช 2510 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1967 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เปลื้อง ฉายรัศมีและพ.ศ. 2510 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2516

ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เปลื้อง ฉายรัศมีและพ.ศ. 2516 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2520

ทธศักราช 2520 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1977 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เปลื้อง ฉายรัศมีและพ.ศ. 2520 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เปลื้อง ฉายรัศมีและพ.ศ. 2524 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เปลื้อง ฉายรัศมีและพ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

กรมส่งเสริมวัฒนธรรม

กรมส่งเสริมวัฒนธรรม สังกัดกระทรวงวัฒนธรรม เป็นองค์กรส่งเสริม สนับสนุนให้ประชาชนมีค่านิยมและพฤติกรรมที่เหมาะสม มีความภาคภูมิใจ และสืบทอดวัฒนธรรมอันเป็นอัตลักษณ์ของตนเองและชุมชน สามารถประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต และการพัฒนาที่ยั่งยืน ตั้งอยู่ที่ ถนนเทียมร่วมมิตร แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร บริเวณที่ตั้งเดียวกับ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: เปลื้อง ฉายรัศมีและกรมส่งเสริมวัฒนธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์

วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ (Kalasin College of Dramatic Arts) เป็นวิทยาลัยนาฏศิลป หนึ่งในสิบสองแห่งทั่วประเทศ โดยการจัดตั้ง วันที่ 1 พฤษภาคม..

ใหม่!!: เปลื้อง ฉายรัศมีและวิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปินแห่งชาติ

ลปินแห่งชาติ ของประเทศไทย หมายถึงศิลปินผู้มีความสามารถ มีผลงานสร้างสรรค์และพัฒนาเป็นที่ยอมรับของวงการ และมีผลงานเป็นประโยชน์ต่อสังคม นับตั้งแต่เริ่มโครงการศิลปินแห่งชาติ (พ.ศ. 2528) ถึงสิ้นปี..

ใหม่!!: เปลื้อง ฉายรัศมีและศิลปินแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ. 2498) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระโสทรกนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ที่ 2 เมษายน..

ใหม่!!: เปลื้อง ฉายรัศมีและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอ

อำเภอ เป็นหน่วยการปกครองระดับที่สองในประเทศไทย ลำดับรองมาจากจังหวัด จัดตั้งขึ้นโดยการตราเป็นพระราชกฤษฎีกา มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน มีนายอำเภอ เป็นหัวหน้าปกครอง โดยในแต่ละอำเภอจะแบ่งส่วนย่อยออกเป็น ตำบล ในปัจจุบันประเทศไทยมี 878 อำเภอใน 76 จังหวัด ซึ่งไม่รวม 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการบริหารกรุงเทพมหานครในปี..

ใหม่!!: เปลื้อง ฉายรัศมีและอำเภอ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองกาฬสินธุ์

มืองกาฬสินธุ์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: เปลื้อง ฉายรัศมีและอำเภอเมืองกาฬสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเขาวง

วง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดกาฬสินธุ์ พื้นที่ส่วนใหญ่ทำการเกษตร ปลูกข้าวเหนียวและข้าวเจ้า ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวผู้ไท พูดภาษาผู้ไท มีอาชีพเกษตรกรรม ทำนา ทำไร่ เลี้ยงสัตว์ และหัตถกรรม ทอผ้า ทำเครื่องจักสาน และไม้กว.

ใหม่!!: เปลื้อง ฉายรัศมีและอำเภอเขาวง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกาฬสินธุ์

ังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางหรือตอนบนของประเทศไทย อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 510 กิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์จังหวัดหนึ่งในภาคอีสาน จากหลักฐานทางโบราณคดีบ่งบอกว่าเคยเป็นที่อยู่อาศัยของเผ่าละว้า ซึ่งมีความเจริญทางด้านอารยธรรมประมาณ 1,600 ปี ต่อมาได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ให้ยกฐานะบ้านแก่งสำโรงขึ้นเป็นเมือง และพระราชทานนามว่า “เมืองกาฬสินธุ์” หรือ “เมืองน้ำดำ” ซึ่งเป็นเมืองที่สำคัญทางประวัติศาสตร์มาตั้งแต่สมัยโบราณกาล “กาฬ” แปลว่า “ดำ” “สินธุ์” แปลว่า “น้ำ” กาฬสินธุ์จึงแปลว่า “น้ำดำ” และยังมีแหล่งซากไดโนเสาร์หลายแห่งด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอำเภอสหัสขันธ์ นอกจากนี้ยังมีชื่อเสียงด้านโปงลาง.

ใหม่!!: เปลื้อง ฉายรัศมีและจังหวัดกาฬสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุบลราชธานี

อุบลราชธานี เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและของประเทศไทย ทั้งยังเป็นตำบลที่ตั้งของเส้นเวลาหลักของประเทศ ที่เส้นแวง 105 องศาตะวันออก โดยเป็นจังหวัดแรกที่ได้เห็นดวงอาทิตย์ก่อนพื้นที่อื่น ๆ ทั่วประเทศ จังหวัดอุบลราชธานีเป็นเมืองใหญ่ริมฝั่งแม่น้ำมูลที่มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมากว่า 200 ปี มีพื้นที่กว้างใหญ่ ภายหลังถูกแบ่งออกเป็นจังหวัดใหม่คือจังหวัดยโสธรในปี พ.ศ. 2515 และจังหวัดอำนาจเจริญในปี พ.ศ. 2536 ซึ่งถ้ารวมพื้นที่อีกสองจังหวัดที่แยกออกไป จังหวัดอุบลราชธานีจะมีพื้นที่เป็นอันดับ 1 ของประเทศไท.

ใหม่!!: เปลื้อง ฉายรัศมีและจังหวัดอุบลราชธานี · ดูเพิ่มเติม »

แคน

แคน แคน เป็นเครื่องเป่าหรือเครื่องดนตรีพื้นเมืองของภาคอีสานในประเทศไทย อีกทั้งยังเป็นเครื่องดนตรีของชาวลาวหรือ สปป.ลาว และถือเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของชนชาติลาวอีกด้วย โดยเครื่องดนตรีชนิดนี้จะใช้ไม้ซางขนาดต่าง ๆ ประกอบกันเข้าเป็นตัวแคน แคนเป็นเครื่องเป่ามีลิ้นโลหะ เสียงเกิดจากลมผ่านลิ้นโลหะไปตามลำไม้ที่เป็นลูกแคน การเป่าแคนต้องใช้ทั้งเป่าลมเข้าและดูดลมออกด้วย จึงเป่ายากพอสมควรและแคนมีหลายขนาด ถือเป็นเครื่องดนตรีชนิดหนึ่งที่ให้เสียงไพเราะ เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว สร้างเสียงประสานได้ในตัวเอง บ่งบอกถึงวิถีชีวิตของชาวลุ่มแม่น้ำโขงได้เป็นอย่างดี ใครเป็นผู้คิดประดิษฐ์เครื่องดนตรีที่เรียกว่า "แคน" เป็น คนแรก และทำไมจึงเรียกว่า "แคน" นั้น ยังไม่มีหลักฐานที่แน่นอนยืนยันได้.

ใหม่!!: เปลื้อง ฉายรัศมีและแคน · ดูเพิ่มเติม »

โปงลาง

วนประกอบโปงลาง โปงลาง ดนตรีพื้นเมืองอีสานถือว่าจังหวะสำคัญมาก เครื่องดนตรีประเภทตีใช้ดำเนินทำนองอย่างเดียวคือ โปงลาง โปงลางมีวิวัฒนาการมาจากระฆังแขวนคอสัตว์เพื่อให้เกิดเสียงโปงลางที่ใช้บรรเลงอยู่ในภาคอีสานมี2 ชนิด คือ โปงลางไม้และโปงลางเหล็ก ภาพที่แสดงคือ โปงลางไม้ซึ่งประกอบด้วยลูกโปงลางประมาณสิบสองลูกเรียงตามลำดับเสียงสูง ต่ำ ใช้เชือกร้อยเป็นแผงระนาด แต่โปงลางไม่ใช้รางเพราะเห็นว่าเสียงดังอยู่แล้ว แต่นำมาแขวนกับที่แขวน ซึ่งยึดส่วนปลายกับส่วนโคนให้แผงโปงลางทำมุมกับพื้น 45องศา ไม้ตีโปงลางทำด้วยแก่นไม้มีหัวงอนคล้ายค้อนสำหรับผู้บรรเลงใช้ตีดำเนินทำนอง1 คู่ และอีก 1 คู่สำหรับผู้ช่วยใช้เคาะทำให้เกิดเสียงประสานและจังหวะตามลักษณะของดนตรีพื้นเมืองอีสานที่มีเสียงประสาน.

ใหม่!!: เปลื้อง ฉายรัศมีและโปงลาง · ดูเพิ่มเติม »

โปงลางสะออน

ปงลางสะออน กลุ่มวงดนตรีที่ประยุกต์ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน โปงลาง ที่นำรูปแบบการแสดงสอดใส่ความสนุกสนาน วงโปงลางสะออนนำ.

ใหม่!!: เปลื้อง ฉายรัศมีและโปงลางสะออน · ดูเพิ่มเติม »

เขื่อนลำปาว

ื่อนลำปาว เป็นเขื่อนดิน อยู่ในเขตอำเภอสหัสขันธ์, อำเภอคำม่วง, อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ อยู่ห่างจากจังหวัดกาฬสินธุ์ประมาณ 36 กิโลเมตร เขื่อนลำปาวสร้างเสร็จเมื่อ..

ใหม่!!: เปลื้อง ฉายรัศมีและเขื่อนลำปาว · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »