เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

เบกีนาฌ

ดัชนี เบกีนาฌ

กีนาฌ (béguinage) หรือ เบอไคน์โฮฟ (begijnhof) เป็นบริเวณที่อยู่อาศัยร่วมกันขนาดเล็ก ๆ ของเหล่าฆราวาสหญิงที่เรียกว่า "เบกีน" (Béguine) ซึ่งเป็นสตรีผู้ประพฤติศีลอย่างเคร่งครัดในศาสนาคริสต์แต่มิใช่นักบวชแบบแม่ชี โดยเบกีนนั้นจะพบในเขตกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ โดยก่อตั้งราวคริสต์ศตวรรษที่ 13 โดยหมู่อาคารมักจะสร้างในสถาปัตยกรรมแบบเดียวกัน โดยมักห้อมล้อมด้วยสวนอยู่ตรงกลางหรืออยู่ใกล้โบสถ์ ในปัจจุบันนั้นไม่มีเหล่าเบกีนเหลืออยู่แล้วในทวีปยุโรป เบกีนาฌซึ่งพบได้ในเขตฟลามส์ (ฟลานเดอส์) ทั้ง 13 แห่งในประเทศเบลเยียมได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรมโดยองค์การยูเนสโก เมื่อปีค.ศ.

สารบัญ

  1. 24 ความสัมพันธ์: บรูชพ.ศ. 2541กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำมรดกโลกมณฑลฟลานเดอร์ตะวันออกมณฑลฟลานเดอร์ตะวันตกมณฑลลิมเบิร์ก (เบลเยียม)มณฑลแอนต์เวิร์ปมณฑลเฟลมิชบราบันต์ศาสนาคริสต์สมัยกลางองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติทวีปยุโรปดีสต์คริสต์ศตวรรษที่ 13คอร์ทไรค์ฆราวาสซินต์-เตรยเดินประเทศเบลเยียมโตงเงอเรินเกนต์เมเคอเลินเลอเฟินเขตฟลามส์

บรูช

รูช (Bruges) หรือ บรึคเคอ (Brugge) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดและเป็นเมืองหลวงของจังหวัดฟลานเดอร์ตะวันตกในบริเวณเฟลมมิชในประเทศเบลเยียม ตัวเมืองตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ ศูนย์ประวัติศาสตร์ของเมืองได้รับเลือกให้เป็นเมืองในมรดกโลกของยูเนสโก ตัวเมืองรูปไข่มีเนื้อที่ประมาณ 430 เฮกตาร์ เนื้อที่ทั้งหมดของตัวเมืองมีประมาณกว่า 13,840 เฮกตาร์รวมทั้งอีก 1,075 เฮกตาร์ริมฝั่งทะเลที่เซบรึคเคอ (Zeebrugge) บรูชมีประชากรทั้งสิ้น 117,073 คน (1 มกราคม 2008) Population of all municipalities in Belgium, as of 1 January 2008.

ดู เบกีนาฌและบรูช

พ.ศ. 2541

ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู เบกีนาฌและพ.ศ. 2541

กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ

一 ประเทศแผ่นดินต่ำต่างๆ กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ (Low Countries) หมายถึง ภูมิภาคหนึ่งที่อยู่ทางด้านบนของทวีปยุโรป ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของยุโรป สาเหตุที่เรียกว่าประเทศแผ่นดินต่ำนี้ เนื่องจากประเทศเหล่านี้อยู่ในพื่นที่ที่ลาดต่ำมาก คือ ต่ำกว่าน้ำทะเล ทำให้เกิดอุทกภัยได้ง่าย จึงทำให้ประเทศเหล่านี้มีการจัดการกับอุทกภัยที่ดีที่สุด ของโลกก็ว่าได้ พื้นที่ของประเทศที่อยู่ในภูมิภาคประเทศแผ่นดินต่ำ มีดังนี้ เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม ลักเซมเบิร์ก และ ฝรั่งเศส(ทางตอนเหนือ).

ดู เบกีนาฌและกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ

มรดกโลก

ตราสัญลักษณ์ แหล่งมรดกโลก หรือ มรดกโลก (World Heritage Site; Patrimoine Mondial) คือสถานที่ อันได้แก่ ป่าไม้ อนุสาวรีย์ สิ่งก่อสร้างต่างๆ รวมไปถึงเมือง ซึ่งคัดเลือกโดยองค์การยูเนสโกตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู เบกีนาฌและมรดกโลก

มณฑลฟลานเดอร์ตะวันออก

ฟลานเดอร์ตะวันออก (Oost-Vlaanderen, East Flanders) เป็นมณฑลในเขตฟลามส์ ซึ่งเป็นหนึ่งในสามเขตของประเทศเบลเยียม โดยทางเหนือมีพื้นที่ติดต่อกับจังหวัดเซลันด์ของประเทศเนเธอร์แลนด์, ทางตะวันออกติดต่อกับมณฑลแอนต์เวิร์ปและมณฑลเฟลมิชบราบันต์, ทางใต้ติดต่อกับมณฑลแอโน และทางตะวันตกติดต่อกับมณฑลฟลานเดอร์ตะวันตกของประเทศเบลเยียม ฟลานเดอร์ตะวันออกมีเมืองหลวงชื่อเกนต์ และมีพื้นที่ 2,982 ตารางกิโลเมตร แบ่งออกเป็น 6 เขตการปกครอง ซึ่งแบ่งย่อยได้อีก 65 เทศบาล แม่น้ำสายหลักของจังหวัดนี้คือแม่น้ำสเกลต.

ดู เบกีนาฌและมณฑลฟลานเดอร์ตะวันออก

มณฑลฟลานเดอร์ตะวันตก

ฟลานเดอร์ตะวันตก (West-Vlaanderen, West Flanders) เป็นมณฑลที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกที่สุดของเขตฟลามส์และประเทศเบลเยียม โดยทางเหนือและทางตะวันตกมีพื้นที่ติดต่อกับทะเลเหนือ, ทางตะวันออกเฉียงเหนือมีพื้นที่ติดต่อกับจังหวัดเซลันด์ของประเทศเนเธอร์แลนด์, ทางตะวันออกติดต่อกับมณฑลฟลานเดอร์ตะวันออก และทางใต้ติดต่อกับมณฑลแอโนของประเทศเบลเยียมและจังหวัดนอร์ของประเทศฝรั่งเศส ฟลานเดอร์ตะวันตกเป็นมณฑลเดียวของประเทศเบลเยียมที่มีพื้นที่ติดต่อทั้งประเทศเนเธอร์แลนด์และประเทศฝรั่งเศส และเป็นมณฑลเดียวที่มีพื้นที่ติดชายฝั่งทะเลเหนือ ฟลานเดอร์ตะวันตกมีเมืองหลวงชื่อบรูช และมีพื้นที่ 3,144 ตารางกิโลเมตร แบ่งออกเป็น 8 เขตการปกครอง ซึ่งแบ่งย่อยได้อีก 64 เทศบาล.

ดู เบกีนาฌและมณฑลฟลานเดอร์ตะวันตก

มณฑลลิมเบิร์ก (เบลเยียม)

ลิมเบิร์ก (Limburg) เป็นมณฑลที่อยู่ทางตะวันออกที่สุดของเขตฟลามส์ในประเทศเบลเยียม และอยู่ทางตะวันตกของแม่น้ำเมิซ มีพื้นที่ทางเหนือติดต่อกับจังหวัดนอร์ทบราแบนต์, ทางตะวันออกติดต่อกับจังหวัดลิมเบิร์กของประเทศเนเธอร์แลนด์, ทางใต้ติดต่อกับมณฑลลีแยฌ, ทางตะวันตกติดต่อกับมณฑลเฟลมิชบราบันต์และมณฑลแอนต์เวิร์ปของประเทศเบลเยียม ลิมเบิร์กมีเมืองหลวงมณฑลคือฮัสเซิลต์ และมีพื้นที่ 2,414 ตารางกิโลเมตร แบ่งออกเป็น 3 เขตการปกครอง (arrondissement) ประกอบด้วย 44 เทศบาล โดยเคงก์เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ และดีเปินเบกเป็นศูนย์กลางทางการศึกษาของมณฑล ทั้งสองเมืองนี้อยู่ใกล้ๆ กับฮัสเซิลต์ ลิมเบิร์ก เมน ฟาเดอร์ลันด์ (Limburg mijn Vaderland: ลิมเบิร์ก แผ่นดินพ่อของฉัน) คือเพลงประจำมณฑลลิมเบิร์กของทั้งประเทศเบลเยียมและเนเธอร์แลนด์ ลิมเบิร์กเป็นมณฑลที่มีคลองอัลเบิร์ตและแม่น้ำเดเมอร์พาดผ่าน ทางตะวันออกเฉียงใต้ของมณฑลมีเนินเขาเตี้ยๆ เป็นจำนวนมาก และในอดีตลิมเบิร์กเคยมีพื้นที่ทำเหมืองถ่านหินอยู่มาก.

ดู เบกีนาฌและมณฑลลิมเบิร์ก (เบลเยียม)

มณฑลแอนต์เวิร์ป

แอนต์เวิร์ป (Antwerpen) เป็นมณฑลที่อยู่ทางเหนือที่สุดของประเทศเบลเยียม ตั้งอยู่ทางตะวันออกของมณฑลฟลานเดอร์ตะวันออก, ทางเหนือของมณฑลเฟลมิชบราบันต์, ทางตะวันตกของมณฑลลิมเบิร์ก ในประเทศเบลเยียม, ทางใต้ของจังหวัดนอร์ทบราแบนต์และจังหวัดเซลันด์ของประเทศเนเธอร์แลนด์ แอนต์เวิร์ปมีเมืองหลวงเป็นชื่อเดียวกันกับมณฑล และมีพื้นที่ 2,867 ตารางกิโลเมตร แบ่งออกเป็น 3 เขตการปกครอง ซึ่งแบ่งย่อยได้อีก 70 เทศบาล แอนต์เวิร์ปเป็นที่ตั้งของท่าเรือแอนต์เวิร์ป ซึ่งเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของมณฑล และมีทางหลวงยุโรป E313, E19 และ E34 พาดผ่าน นอกจากนี้ยังมีรถไฟความเร็วสูงเชื่อมต่อสถานีรถไฟแอนต์เวิร์ป-เซนทราลกับบรัสเซลส์และอัมสเตอร์ดัม แม่น้ำสายหลักของจังหวัดคือแม่น้ำสเกลต์ที่เชื่อมต่อท่าเรือแอนต์เวิร์ปกับทะเลเหนือ และคลองอัลเบิร์ตที่เชื่อมต่อแม่น้ำสเกลต์ในมณฑลแอนต์เวิร์ปและแม่น้ำเมิซในมณฑลลีแยฌเข้าด้วยกัน.

ดู เบกีนาฌและมณฑลแอนต์เวิร์ป

มณฑลเฟลมิชบราบันต์

ฟลมิชบราบันต์ (Flemish Brabant) หรือ ฟลามส์-บราบานท์ (Vlaams-Brabant) เป็นมณฑลในเขตฟลามส์ ซึ่งเป็นหนึ่งในสามเขตของประเทศเบลเยียม ตั้งอยู่ทางตะวันออกของมณฑลฟลานเดอร์ตะวันออก, ทางใต้ของมณฑลแอนต์เวิร์ป, ทางตะวันตกของมณฑลลิมเบิร์ก, ทางตกเฉียงเหนือของมณฑลลีแยฌ, ทางเหนือของมณฑลวัลลูนบราบันต์, ทางตะวันออกเฉียงเหนือของมณฑลแอโน และล้อมรอบพื้นที่ทั้งหมดของเขตเมืองหลวงบรัสเซลส์ เฟลมิชบราบันต์มีเมืองหลวงชื่อเลอเฟน และมีพื้นที่ 2,106.13 ตารางกิโลเมตร แบ่งออกเป็น 2 เขตการปกครอง ซึ่งแบ่งย่อยได้อีก 65 เทศบาล แม่น้ำสายหลักของจังหวัดคือแม่น้ำเดเมอร์และแม่น้ำเซน เฟลมิชบราบันต์ตั้งขึ้นในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ.

ดู เบกีนาฌและมณฑลเฟลมิชบราบันต์

ศาสนาคริสต์

นาคริสต์ (Christianity) ราชบัณฑิตยสถานเรียกว่า คริสต์ศาสนาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 156 เป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ที่มีพื้นฐานมาจากชีวิตและการสอนของพระเยซูตามที่ปรากฏในพระวรสารในสารบบ (canonical gospel) และงานเขียนพันธสัญญาใหม่อื่น ๆ ผู้นับถือศาสนาคริสต์เรียกว่าคริสต์ศาสนิกชนหรือคริสตชน คริสตชนเชื่อว่าพระเยซูเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าผู้มาบังเกิดเป็นมนุษย์และเป็นพระผู้ช่วยให้รอด ด้วยเหตุนี้ คริสตชนจึงมักเรียกพระเยซูว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเมสสิยาห์" Briggs, Charles A.

ดู เบกีนาฌและศาสนาคริสต์

สมัยกลาง

แบบจำลองของหมวกหุ้มเกราะซึ่งถูกพบที่ซัททันฮู ในหลุมศพของผู้นำชาวแองโกล-แซกซัน สันนิษฐานว่าเป็นกษัตริย์ราวปี ค.ศ.

ดู เบกีนาฌและสมัยกลาง

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ

งของยูเนสโก องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization) หรือ ยูเนสโก (UNESCO) เป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ ก่อตั้งโดยได้มีการลงนามในธรรมนูญขององค์การ เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน..

ดู เบกีนาฌและองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp.

ดู เบกีนาฌและทวีปยุโรป

ดีสต์

ีสต์ (Diest) เป็นเมืองในมณฑลเฟลมิชบราบันต์ของประเทศเบลเยียม ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของมณฑล มีพื้นที่ติดต่อกับมณฑลลิมเบิร์กทางทิศตะวันออก โดยอยู่ห่างจากกรุงบรัสเซลส์ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 60 กิโลเมตร ดีสต์มีประชากรกว่า 23,000 คนอาศัยอยู่ในพื้นที่ 58.2 ตารางกิโลเมตร ดีสต์เป็นที่ตั้งของเบกีนาฌ 1 ใน 13 แห่งซึ่งพบได้ในเขตฟลามส์ (ฟลานเดอส์) โดยได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรมโดยองค์การยูเนสโก เมื่อปี ค.ศ.

ดู เบกีนาฌและดีสต์

คริสต์ศตวรรษที่ 13

ริสต์ศตวรรษที่ 13 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1201 ถึง ค.ศ. 1300.

ดู เบกีนาฌและคริสต์ศตวรรษที่ 13

คอร์ทไรค์

อร์ทไรค์บนฝั่งแม่น้ำเลอี คอร์ทไรค์ (Kortrijk) หรือ กูร์แทร (Courtrai) เป็นเมืองและเทศบาลในประเทศเบลเยียมในมณฑลฟลานเดอร์ตะวันตก บนฝั่งแม่น้ำเลอี ห่างจากเมืองเกนต์ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ 42 กม.

ดู เบกีนาฌและคอร์ทไรค์

ฆราวาส

ราวาส (อ่านว่า คะราวาด) นัยแรกแปลว่า การอยู่ครองเรือน, การอยู่ในเรือน, การเป็นอยู่แบบชาวบ้าน เช่น "ฆราวาสเป็นที่คับแคบ เป็นทางมาแห่งธุลี บรรพชาเป็นทางปลอดโปร่ง...." ฆราวาส นัยที่สองแปลว่า ผู้ครองเรือน, ผู้อยู่ในเรือน ได้แก่ชาวบ้านทั่วไปที่มิใช่นักบวช เป็นคำที่มีความหมายเดียวกับคำว่า คฤหัสถ์ เช่น "ฆราวาสธรรมเป็นธรรมสำหรับผู้ครองเรือนจะพึงประพฤติปฏิบัติ" "เมื่อเรายังเป็นฆราวาสอยู่ ได้ตกแต่งร่างกายนุ่งห่มเสื้อผ้าอันงาม ทัดทรงดอกไม้ ลูบไล้ด้วยจุรณจันทน....." ฆราวาส มักพูดหรืออ่านเพี้ยนไปว่า ฆราวาส (คาระวาด).

ดู เบกีนาฌและฆราวาส

ซินต์-เตรยเดิน

ซินต์-เตรยเดิน (Sint-Truiden) หรือ แซ็ง-ทรง (Saint-Trond) เป็นเมืองและเทศบาลในมณฑลลิมเบิร์กของประเทศเบลเยียม มีประชากรประมาณ 39,000 คน อยู่ห่างจากฮัสเซิลต์ซึ่งเป็นเมืองหลวงจังหวัด 18 กิโลเมตร จากการควบรวมเขตย่อยในปี ค.ศ.

ดู เบกีนาฌและซินต์-เตรยเดิน

ประเทศเบลเยียม

ลเยียม (Belgium) หรือชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเบลเยียม (Kingdom of Belgium) เป็นประเทศในยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก ฝรั่งเศส และทะเลเหนือ เบลเยียมเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งของสหภาพยุโรป และเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ เช่นเดียวกับของอีกหลายองค์กรระหว่างประเทศรวมถึงองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ทั้งนี้ ลักษณะของประเทศ ยังคล้ายกับ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์อีกด้วย เบลเยียมมีความหลากหลายทางภาษาค่อนข้างสูง ส่งผลต่อระบบการปกครองที่ค่อนข้างซับซ้อน เบลเยียมแบ่งออกเป็นสองภูมิภาคใหญ่ ๆ ได้แก่ฟลานเดอส์ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาดัตช์ และวัลโลเนีย ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส บรัสเซลส์ เมืองหลวงของเบลเยียม เป็นเขตทวิภาษา ตั้งอยู่ในฟลานเดอส์ นอกจากนี้ยังมีชุมชนที่พูดภาษาเยอรมันในทางตะวันออกของวัลโลเนียด้วย คำว่าเบลเยียม (Belgium ในภาษาอังกฤษ België และ Belgique ในภาษาดัตช์และฝรั่งเศส) มีที่มาจาก Gallia Belgica ซึ่งเป็นจังหวัดในยุคโรมัน มีกลุ่มชาว Belgae อยู่อาศั.

ดู เบกีนาฌและประเทศเบลเยียม

โตงเงอเริน

ตงเงอเริน (Tongeren), ตงร์ (Tongres) หรือ ท็องเงิร์น (Tongern) เป็นเมืองและเทศบาลทางใต้ของมณฑลลิมเบิร์กในประเทศเบลเยียม มีพื้นที่ติดต่อกับแม่น้ำเยเกอร์ และเป็นเมืองศูนย์กลางของลิมเบิร์กใต้ โตงเงอเรินเป็นเมืองที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศเบลเยียม ก่อตั้งใน 15 ปีก่อนคริสตกาล โดยสมัยนั้นมีชื่อว่า Atuatuca Tunguorum ใน ค.ศ.

ดู เบกีนาฌและโตงเงอเริน

เกนต์

มืองเกนต์ เกนต์ (Ghent เดิม Gaunt), เคนต์ (Gent) หรือ ก็อง (Gand) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดและเป็นเมืองหลวงของจังหวัดฟลานเดอร์ตะวันออกในบริเวณเฟลมมิชของประเทศเบลเยียม เดิมตัวเมืองเริ่มจากการตั้งถิ่นฐานที่ปากแม่น้ำสเกลต์และแม่น้ำลูส ในยุคกลางเกนต์เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดและมั่งคั่งที่สุดในตอนเหนือของยุโรป ในปัจจุบันเป็นเมืองท่าและเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยเกนต์ เกนต์เป็นเมืองที่ใหญ่เป็นลำดับสองของประเทศเบลเยียมโดยจำนวนประชากร บริเวณตัวเมืองและปริมณฑลมีเนื้อที่ 1,205 ตารางกิโลเมตรและมีประชากรทั้งหมด 594,582 คน (1 มกราคม 2008) Definitions of metropolitan areas in Belgium.

ดู เบกีนาฌและเกนต์

เมเคอเลิน

ศาลาเทศบาลเมืองเมเคอเลิน เมเคอเลิน (Mechelen) เป็นเมืองในประเทศเบลเยียม ที่พูดภาษาดัตช์ ในจังหวัดแอนต์เวิร์ป เป็นตลาดใหญ่ในการค้าผัก ผลิตเครื่องเรือน เคยเป็นศูนย์กลางผลิตผ้าลูกไม้ที่มีชื่อเสียง เป็นเมืองที่มีชื่อเสียงด้านศิลปะ เมืองนี้มีความเจริญรุ่งเรืองมากในคริสต์ศตวรรษที่ 15 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 หมวดหมู่:เมืองในประเทศเบลเยียม หมวดหมู่:จังหวัดแอนต์เวิร์ป.

ดู เบกีนาฌและเมเคอเลิน

เลอเฟิน

ลอเฟิน (Leuven), ลูแว็ง (Louvain) หรือ เลอเวิน (Löwen) เป็นเมืองในประเทศเบลเยียมและเป็นเมืองหลวงของจังหวัดเฟลมิชบราบันต์ ตั้งอยู่บริเวณใจกลางของจังหวัด ห่างจากกรุงบรัสเซลส์ประมาณ 25 กิโลเมตร มีประชากรประมาณ 97,000 คน เลอเฟินเป็นที่ตั้งของ Anheuser-Busch InBev บริษัทผลิตเบียร์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก มหาวิทยาลัยคาทอลิกเลอเฟิน (Katholieke Universiteit Leuven) ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่ใหญ่และเก่าแก่ที่สุดในกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ และสถาบันปรัชญาชั้นสูง (Higher Institute of Philosophy) ซึ่งมีชื่อเสียงโดยเฉพาะการเก็บรักษาผลงานของเอ็ดมุนด์ ฮัสเซิร์ล นักปรัชญาชาวเยอรมันไว้อย่างถาวร.

ดู เบกีนาฌและเลอเฟิน

เขตฟลามส์

ตฟลามส์ (Vlaams Gewest, Région flamande, Flamish region) หรือเรียกอีกอย่างว่า เขตเฟลมิช เป็นหนึ่งในสามเขตการปกครองอย่างเป็นทางการของประเทศเบลเยียม ร่วมกับเขตวัลลูนและเขตเมืองหลวงบรัสเซลส์ เขตฟลามส์มีเนื้อที่อยู่ทางเหนือของประเทศและกินพื้นที่ประมาณ 13,522 ตารางกิโลเมตร (ร้อยละ 44.29 ของประเทศ) เป็นภูมิภาคที่มีผู้คนอาศัยอยู่หนาแน่นที่สุดแห่งหนึ่งในยุโรป โดยประมาณ 455 คนต่อตารางกิโลเมตร ใช้ภาษาดัตช์เป็นภาษาราชการ ในความหมายปัจจุบัน ฟลานเดอร์ (Flanders) มักใช้หมายถึงเขตฟลาม.

ดู เบกีนาฌและเขตฟลามส์