สารบัญ
16 ความสัมพันธ์: ชิเงะรุ มิยะโมะโตะพ.ศ. 2529พ.ศ. 2530พ.ศ. 2537พ.ศ. 2547นินเท็นโดแฟมิคอมเกมบอยอัดวานซ์เดอะเลเจนด์ออฟเซลดา (เกมชุด)14 กุมภาพันธ์15 พฤศจิกายน19 กุมภาพันธ์2 มิถุนายน21 กุมภาพันธ์22 สิงหาคม9 กรกฎาคม
- วิดีโอเกมที่ออกวางจำหน่ายในปี พ.ศ. 2529
- วิดีโอเกมเดอะเลเจนด์ออฟเซลดา
- เกมสำหรับเกมบอยแอ็ดวานซ์
- เกมสำหรับแฟมิคอม
ชิเงะรุ มิยะโมะโตะ
มิยะโมะโตะ ในงานนิทรรศการเกม e3 ชิเงะรุ มิยะโมะโตะ (เกิด 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495) เป็นนักออกแบบเกมชาวญี่ปุ่น ผู้บริหารของนินเทนโด เป็นผู้คิดค้นเกม มาริโอ ดองกีคอง ตำนานแห่งเซลดา และเกมอื่นของนินเทนโด และเป็นผู้ควบคุมการผลิตเกมหลายเกม รวมถึงล่าสุดนินเทนโด วี.
ดู เดอะเลเจนด์ออฟเซลดา (วิดีโอเกม)และชิเงะรุ มิยะโมะโตะ
พ.ศ. 2529
ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เดอะเลเจนด์ออฟเซลดา (วิดีโอเกม)และพ.ศ. 2529
พ.ศ. 2530
ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เดอะเลเจนด์ออฟเซลดา (วิดีโอเกม)และพ.ศ. 2530
พ.ศ. 2537
ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู เดอะเลเจนด์ออฟเซลดา (วิดีโอเกม)และพ.ศ. 2537
พ.ศ. 2547
ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.
ดู เดอะเลเจนด์ออฟเซลดา (วิดีโอเกม)และพ.ศ. 2547
นินเท็นโด
นินเท็นโด (Nintendo) เป็นบริษัทสัญชาติญี่ปุ่น ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2432 (ค.ศ. 1889) เริ่มแรกทำธุรกิจเกี่ยวกับการ์ดเกมและของเล่น รวมถึงธุรกิจอื่น เช่น โรงแรมและแท็กซี่ ใน พ.ศ.
ดู เดอะเลเจนด์ออฟเซลดา (วิดีโอเกม)และนินเท็นโด
แฟมิคอม
แฟมิคอม (Famicom) หรือ เครื่องเกมนินเทนโด (Nintendo Entertainment System: NES) เป็นเครื่องเล่นวิดีโอเกม 8 บิต ผลิตโดยบริษัทนินเทนโด ชื่อของแฟมิคอมมาจากคำเต็มว่า แฟมิลี่คอมพิวเตอร์ (Family Computer) คนไทยมักเรียกเครื่องเล่นเกมชนิดนี้ว่า เครื่องแฟมิลี่ มะซะยุกิ อุเอะมุระได้เป็นผู้ออกแบบระบบเกม และวางจำหน่ายในญี่ปุ่นเมื่อ 15 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู เดอะเลเจนด์ออฟเซลดา (วิดีโอเกม)และแฟมิคอม
เกมบอยอัดวานซ์
กมบอยอัดวานซ์ เกมบอยอัดวานซ์ (Gameboy Advance หรือตัวย่อ GBA) เป็นเครื่องเล่นเกมพกพาของบริษัทนินเทนโด ถือว่าเป็นรุ่นล่าสุดในเครื่องเล่นเกมตระกูลเกมบอย วางจำหน่ายครั้งแรกในประเทศญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 21 มีนาคม ค.ศ.
ดู เดอะเลเจนด์ออฟเซลดา (วิดีโอเกม)และเกมบอยอัดวานซ์
เดอะเลเจนด์ออฟเซลดา (เกมชุด)
อะเลเจนด์ออฟเซลดา เป็นเกมชุดประเภทแอ็กชันผจญภัยที่กล่าวถึงวีรบุรุษในตำนาน ริเริ่มโดยนักออกแบบเกมชาวญี่ปุ่น ชิเงะรุ มิยะโมะโตะ (宮本 茂) พัฒนาและวางจำหน่ายโดยนินเทนโด (Nintendo) เกมชุดนี้เป็นการผสมผสานระหว่างเกมแอ็กชัน เกมผจญภัย เกมปริศนา เกมเล่นตามบทบาท (RPG) ในบางโอกาสก็มีการใช้เกมมุมมองด้านข้าง (platform) เกมสายลับ (stealth) หรือเกมแข่งขัน (racing) ประกอบอยู่ด้วย ตัวเอกที่สามารถเล่นได้เพียงคนเดียวคือเด็กหนุ่มชื่อ ลิงก์ (Link) เขามักได้รับมอบหมายให้ช่วยเหลือ เจ้าหญิงเซลดา (Zelda) แห่ง อาณาจักรไฮรัล (Hyrule) รวมทั้งตัวประกอบอื่นๆ ซึ่งถูกจับตัวไปโดย กาน่อน (Ganon) ศัตรูตัวหลักของเรื่อง แต่อย่างไรก็ตามตัวละครบางตัวอาจปรากฏหรือไม่ปรากฏในภาคอื่นๆ ก็ได้ หรืออาจมีตัวละครตัวอื่นที่จะต้องช่วยเหลือหรือต้องต่อสู้ด้วยแทน เนื้อเรื่องโดยปกติมักจะเกี่ยวข้องกับสัญลักษณ์ที่เรียกว่า ไทรฟอร์ซ (Triforce) มีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมสีทองสามอัน ซึ่งเป็นตัวแทนของพลังอันไม่สิ้นสุดของพระเจ้าสามองค์ เกมชุดเดอะเลเจนด์ออฟเซลดาได้รับการยอมรับในวงกว้างว่าเป็นหนึ่งในวิดีโอเกมที่มีอิทธิพลที่สุดในประวัติศาสตร์ ควบคู่ไปกับ มาริโอ โปเกมอน และเมทรอยด์ เกมชุดนี้ประกอบไปด้วยเกมอย่างเป็นทางการ 14 ภาค เกมย่อยอีกหลายภาค บนเครื่องเล่นวิดีโอเกมชนิดต่างๆ เกมหลายภาคได้รับความชื่นชมจากผู้เล่นเป็นอย่างมากและประสบความสำเร็จเชิงพาณิชย์ เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ.
ดู เดอะเลเจนด์ออฟเซลดา (วิดีโอเกม)และเดอะเลเจนด์ออฟเซลดา (เกมชุด)
14 กุมภาพันธ์
วันที่ 14 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 45 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 320 วันในปีนั้น (321 วันในปีอธิกสุรทิน).
ดู เดอะเลเจนด์ออฟเซลดา (วิดีโอเกม)และ14 กุมภาพันธ์
15 พฤศจิกายน
วันที่ 15 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 319 ของปี (วันที่ 320 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 46 วันในปีนั้น.
ดู เดอะเลเจนด์ออฟเซลดา (วิดีโอเกม)และ15 พฤศจิกายน
19 กุมภาพันธ์
วันที่ 19 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 50 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 315 วันในปีนั้น (316 วันในปีอธิกสุรทิน).
ดู เดอะเลเจนด์ออฟเซลดา (วิดีโอเกม)และ19 กุมภาพันธ์
2 มิถุนายน
วันที่ 2 มิถุนายน เป็นวันที่ 153 ของปี (วันที่ 154 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 212 วันในปีนั้น.
ดู เดอะเลเจนด์ออฟเซลดา (วิดีโอเกม)และ2 มิถุนายน
21 กุมภาพันธ์
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 52 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 313 วันในปีนั้น (314 วันในปีอธิกสุรทิน).
ดู เดอะเลเจนด์ออฟเซลดา (วิดีโอเกม)และ21 กุมภาพันธ์
22 สิงหาคม
วันที่ 22 สิงหาคม เป็นวันที่ 234 ของปี (วันที่ 235 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 131 วันในปีนั้น.
ดู เดอะเลเจนด์ออฟเซลดา (วิดีโอเกม)และ22 สิงหาคม
9 กรกฎาคม
วันที่ 9 กรกฎาคม เป็นวันที่ 190 ของปี (วันที่ 191 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 175 วันในปีนั้น.
ดู เดอะเลเจนด์ออฟเซลดา (วิดีโอเกม)และ9 กรกฎาคม
ดูเพิ่มเติม
วิดีโอเกมที่ออกวางจำหน่ายในปี พ.ศ. 2529
- คอนทรา (วิดีโอเกม)
- ซูเปอร์มาริโอบราเธอส์: เดอะลอสต์เลเวลส์
- อาร์บีไอเบสบอล
- เดอะเลเจนด์ออฟเซลดา (วิดีโอเกม)
- แวมไพร์คิลเล่อร์
วิดีโอเกมเดอะเลเจนด์ออฟเซลดา
- เดอะเลเจนด์ออฟเซลดา (วิดีโอเกม)
- เดอะเลเจนด์ออฟเซลดา: อะลิงก์ทูเดอะแพสต์
เกมสำหรับเกมบอยแอ็ดวานซ์
- คุนิโอะดาวน์ทาวน์
- ชินเมกามิเทนเซย์ เดวิลชิลเดรน
- ซามูไรดีปเปอร์ เคียว
- ซิสเตอร์ปรินเซส
- ซูเปอร์มาริโอบราเธอส์
- ซูเปอร์มาริโอเวิลด์
- ซูเปอร์โรบ็อตไทเซ็น อาร์
- ดองกีคอง (วิดีโอเกม)
- ดูม (วีดิโอเกม พ.ศ. 2536)
- นีดฟอร์สปีด: คาร์บอน
- นีดฟอร์สปีด: อันเดอร์เกราน์ด
- นีดฟอร์สปีด: โมสท์วอนเต็ด (วิดีโอเกม พ.ศ. 2548)
- มาเธอร์ (วิดีโอเกม)
- ร็อคแมน & ฟอร์เต้
- ร็อคแมนซีโร่
- ร็อคแมนซีโร่ 2
- ร็อคแมนซีโร่ 3
- ร็อคแมนเอ็กเซ่ 4
- ร็อคแมนเอ็กเซ่ 5
- ร็อคแมนเอ็กเซ่ 6
- วัยซนคนมีพลังจิต
- วินนี่เดอะพูห์ รัมบลีทัมบลีแอดเวนเจอร์
- สเปซอินเวเดอส์
- อัลเทอร์ด บีสต์
- เชร็ค 3 (วิดีโอเกม)
- เดอะ ไวล์ด แก็งค์เขาดินซิ่งป่วนป่า
- เดอะซิมส์ 2 ตัวโปรดจอมป่วน
- เดอะเลเจนด์ออฟเซลดา (วิดีโอเกม)
- เปลวฟ้าผ่าปฐพี
- เวิลด์แชมเปียนชิพโป๊กเกอร์
- เอเรเมนทาร์ เจเร็ด
- แคตวูแมน (วิดีโอเกม)
- แบทเทิลเน็ตเวิร์ค ร็อคแมนเอ็กเซ่
- แบทเทิลเน็ตเวิร์ค ร็อคแมนเอ็กเซ่ 2
- แบทเทิลเน็ตเวิร์ค ร็อคแมนเอ็กเซ่ 3
- แพ็ก-แมน
- โซนิคเดอะเฮดจ์ฮ็อก (วิดีโอเกม)
- โซนิคแบทเทิล
- โซนิคแอดวานซ์
- โยชิส์ไอส์แลนด์
- ไซเลนต์ฮิลล์ (วิดีโอเกม)
- ไฟนอลแฟนตาซี II
- ไฟนอลแฟนตาซี IV
- ไฟนอลแฟนตาซี V
- ไฟนอลแฟนตาซี VI
- ไฟนอลแฟนตาซี แทกติกส์ แอดวานซ์
เกมสำหรับแฟมิคอม
- กราดิอุส (วิดีโอเกม)
- กาลาก้า
- คอนทรา (วิดีโอเกม)
- คาสเซิลวาเนีย III แดรกคูลาส์เคิร์ส
- คุนิโอะดาวน์ทาวน์
- คุนิโอะไฟท์เตอร์
- ชาโดว์ออฟเดอะนินจา
- ซูเปอร์มาริโอบราเธอส์
- ซูเปอร์มาริโอบราเธอส์ 3
- ดราก้อนเควสต์ III
- ดองกีคอง (วิดีโอเกม)
- ปาร์แมน
- ป๊อปอาย (วิดีโอเกม)
- มาเธอร์ (วิดีโอเกม)
- ร็อคแมน (วิดีโอเกม)
- ร็อคแมน 2 ความลับของดร.ไวลี่
- ร็อคแมน 3 จุดจบของ ดร.ไวลี่!?
- ร็อคแมน 4 ผู้ทะเยอทะยานคนใหม่!!
- ร็อคแมน 5 กับดักของบลูส์!?
- ร็อคแมน 6 การต่อสู้ครั้งยิ่งใหญ่ในประวัติศาสตร์!!
- ลิตเติลนีโม: เดอะดรีมมาสเตอร์
- อัลเทอร์ด บีสต์
- อาร์บีไอเบสบอล
- เงาแดง
- เดอะการ์เดียนเลเจนต์
- เดอะเลเจนด์ออฟเซลดา (วิดีโอเกม)
- แพ็ก-แมน
- ไครซิสฟอร์ซ
- ไฟนอลแฟนตาซี II
- ไฟนอลแฟนตาซี III
- ไฟร์เอมเบลม: Ankoku Ryū to Hikari no Ken
หรือที่รู้จักกันในชื่อ The Legend of Zelda (video game)