สารบัญ
8 ความสัมพันธ์: บัลลาดริทึมแอนด์บลูส์วายจีเอนเตอร์เทนเมนต์อักษรฮันกึลฮิปฮอปดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์โซลเคป็อป
- กลุ่มดนตรีที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2540
- ศิลปินสังกัดดีเอสพีมีเดีย
- ศิลปินสังกัดวายจีเอนเตอร์เทนเมนต์
บัลลาด
ัลลาด (ballad แบลเลิด) หรือศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถานสาขาวิชาวรรณกรรมคือ ลำนำนิทาน เป็นรูปแบบหนึ่งของคำประพันธ์ โดยมากมีความหมายถึงทางด้านดนตรี เรื่องเล่า บัลลาดมีความหมายเจาะจงของบทกวีอังกฤษและไอร์แลนด์และเพลงที่อยู่ในช่วงถัดจากยุคกลางจนถึงศตวรรษที่ 19 และใช้อย่างแพร่หลายในยุโรปและต่อมาในอเมริกาเหนือ ออสเตรเลียและแอฟริกา มักเขียนและขายในแผ่นกระดาษหน้าเดียว รูปแบบนี้มักใช้กับกวีและนักประพันธ์ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 เป็นต้นมาเพื่อเขียนลำนำโคลงสั้น ๆ ต่อมาในศตวรรษที่ 19 ใช้ในความหมายของเพลงป็อป ความรักช้า ๆ และความหมายนี้มักใช้ในความหมายแบบเดียวกันกับเพลงรัก.
ริทึมแอนด์บลูส์
ริทึมแอนด์บลูส์ (rhythm and blues หรือรู้จักกันในชื่อ R&B หรือ RnB) เป็นแนวเพลงที่ได้รับความนิยม โดยผสมผสานระหว่างเพลงแนว แจ๊ส กอสเปล และบลูส์ โดยเริ่มแรกจะเล่นโดยศิลปินแอฟริกัน-อเมริกัน.
ดู เชคส์กีส์และริทึมแอนด์บลูส์
วายจีเอนเตอร์เทนเมนต์
วายจีเอนเตอร์เทนเมนต์ (เกาหลี: YG 엔터테인먼트) เป็นหน่วยงานในโซล เกาหลีใต้ที่ก่อตั้งขึ้นโดยยัง ฮย็อน-ซ็อก เป็นตัวย่อสำหรับ "ํYang Goon" (ประธานหยาง) ชื่อเล่นผู้อำนวยการบริหารยัง นอกจากนี้กลุ่มฮิปฮอปและ 1TYM Jinusean ก็เคยสังกัดอยู่กับวายจี วายจีเอนเตอร์เทนเมนต์เป็นที่รู้จักกันว่าเป็นหนึ่งใน "Big Three" บริษัทค่ายเพลงเกาหลีใต้ ร่วมกับ เอสเอ็มเอนเตอร์เทนเมนต์ และ เจวายพีเอนเตอร์เทนเมนต์, ส่วนแบ่งการตลาดของพวกเขาที่มีขนาดใหญ่ ช่องวายจีเอนเตอร์เทนเมนต์ ในยูทูบ มีผู้เข้าชมเพลงมากกว่า 5 ล้านครั้งและได้รับการติดตามมากกว่า 12 ล้านคน ทำให้พวกเขามีผู้เข้าชมมากที่สุดและศิลปินและมีผู้ที่สมัครเป็นสมาชิกมากที่สุดในเอเชียแปซิฟิก บริษัท จดทะเบียนอย่างเป็นทางการในวันที่ 23 พฤศจิกายน 2011 ในปี 2012 ราคาหุ้นของวายจีเอนเตอร์เทนเมนต์ต่อปีเพิ่มขึ้นกว่าปีกว่า 6% เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของของความสำเร็จของศิลปินใน.
ดู เชคส์กีส์และวายจีเอนเตอร์เทนเมนต์
อักษรฮันกึล
"ฮันกึล" จะเห็นว่าใน 1 คำ ประกอบด้วยพยัญชนะและสระ ภาพส่วนหนึ่งของเอกสาร "ฮูมิน จองอึม" ฮันกึล (한글, Hangeul, Hangul) เป็นชื่อเรียกตัวอักษรของเกาหลีที่ได้ประดิษฐ์ขึ้นใช้แทนตัวอักษรฮันจา ฮันจานั้นหมายถึงตัวอักษรจีนที่ใช้ในภาษาเกาหลีก่อนที่จะมีการประดิษฐ์อักษรขึ้นใช้แทนโดยพระเจ้าเซจงมหาราช (세종대왕).
ฮิปฮอป
ปฮอป (Hip Hop) หรืออาจเขียนเป็น ฮิป-ฮอป (Hip-hop) มีความหมายถึงในด้านดนตรีแนวฮิปฮอป ที่เป็นที่นิยมสำหรับวัยรุ่นอเมริกาและทั่วโลก จนถูกยกระดับให้เป็นวัฒนธรรมอย่างหนึ่ง ซึ่งมีรากฐานการพัฒนามาจากชาวแอฟริกัน-อเมริกัน และ ชาวละติน โดยในช่วงยุค 70' หลังจากที่ดนตรีดิสโก้ที่พัฒนามาจาก แนวเพลงฟังค์ ในแบบของโมทาวน์ ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย ทำให้มีการเปิดแผ่นเพลงในคลับต่าง ๆ และด้วยการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี เกิดการสร้าง loop, beat ใหม่ ๆ ขึ้นมา ดนตรีฮิปฮอป จึงถือกำเนิดขึ้น.
ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์
fix-attempted.
ดู เชคส์กีส์และดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์
โซล
ซล (ซออุล) ชื่ออย่างเป็นทางการ นครพิเศษโซล เป็นเมืองหลวงและมหานครที่ใหญ่ที่สุดของประเทศเกาหลีใต้ มีประชากรประมาณ 10 ล้านคน เป็นปริมณฑลที่ใหญ่ มีประชากรประมาณ 25 ล้านคนซึ่งเป็นบริเวณที่อยู่อาศัยซึ่งประกอบด้วยบริเวณมหานครอินช็อนและจังหวัดคย็องกี เกือบหนึ่งในสี่ของประชากรชาวเกาหลีใต้อาศัยอยู่ในโซลและชาวต่างชาติอีกประมาณ 275, 000 คน นครโซลได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ระดับหลายเหตุการณ์ โดยการใช้ความพยายามอย่างมากที่จะเพิ่มอิทธิพลในฐานะประเทศที่เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมนานาชาติมากเป็นอันดับที่ 5 ในปี 2553 โซลได้รับการโหวตให้เป็นเป้าหมายยอดนิยมในการท่องเที่ยวจากนักท่องเที่ยวชาวจีน, ญี่ปุ่นและไทย 3 ปีต่อเนื่องกันในปี 2554 สถานีรถไฟโซลเป็นสถานีปลายทางหลักของรถไฟความเร็วสูงเคทีเอ๊กซ์และสถานีรถไฟใต้ดินโซลยังเป็นสถานีที่มีผู้ใช้งานมากเป็นอับดับที่สองของโลกโดยมีลักษณะเป็นสายวงรอบที่ยาวที่สุดและและมีเส้นทางรถไฟไต้ดินจนสุดสายที่ยาวเป็นอับดับที่สองของโลก โซลนั้นได้รวมระบบขนส่งมวลชนเข้ากับเมืองอินช็อนและจังหวัดคย็องกี โดยสามารถให้ผู้โดยสารสามารถใช้บริการรถโดยสารประจำทางหรือรถไฟไต้ดินได้อย่างอิสระโดยใช้บัตรที-มันนี่และเชื่อมต่อโดยทางเอเร็กซ์เพื่อไปยังท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน ซึ่งถูกจัดเป็นสนามบินยอดเยี่ยมตั้งแต่ปี 2548 โดยสภาการท่าอากาศยานนานาชาติ โซลเคยเป็นเจ้าภาพเอเชียนเกมส์ 1986, โอลิมปิกฤดูร้อน 1988, ฟุตบอลโลก 2002 และการประชุมสุดยอด จี-20 2010 โซลได้ชื่อว่าเป็นเมืองแห่งการออกแบบในปี 2553 โดยสมาคมออกแบบอุตสาหกรรมนานาชาต.
เคป็อป
ป็อป (K-pop) หรือเพลงป็อปเกาหลี โดยเฉพาะเพลงจากเกาหลีใต้ ที่มีศิลปินทั้งกลุ่มและเดี่ยวมากมายอย่างเช่น เอพิงก์ เจบีเจ เอ็กโซ (วงดนตรี), BTS, GOT7,แบล็กพิงก์, ชินฮวา, โบอา, บิกแบง, เรน, เซเว่น, ทงบังชินกี,ซูเปอร์จูเนียร์, โซนยอชิแด,ซิสตาร์,ซีเอ็นบลู,มิสเอ, คารา, วันเดอร์เกิลส์, ชายนี่,ก๊อตเซเว่น, ทูพีเอ็ม, เอฟ (เอกซ์), ที-อาร่า, อินฟินิท‚ บีสท์,อีเอกซ์ไอดี,บีเอพี, ซีเครต, โฟร์มินิต, บราวน์อายด์เกิลส์, จีเฟรนด์, เรดเวลเวต (วงดนตรี),เซเว่นทีน,วอนนาวัน,แอสโตร, บีทูบี นอกจากนี้ ยังมีประเทศอื่นที่ได้รับความนิยมด้วย เช่น จีน, ญี่ปุ่น, ไต้หวัน, ฮ่องกง, ฟิลิปปินส์, ไทย และประเทศอื่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตอนนี้รวมถึงประเทศในแถบทวีปอเมริกาใต้ด้วย อาทิเช่น อาร์เจนตินา, บราซิล, ชิลี เป็นต้น ความนิยมในดนตรีเกาหลีมักพิจารณาว่าเป็นหนึ่งในการเติบโตของความคลั่งไคล้ในกระแสเกาหลี ที่นิยมในวัฒนธรรมเกาหลีของชาวเอเชีย ในปัจจุบัน มีการพยายามสร้างนักร้องเคป็อปให้เป็นไอดอล ผู้เชี่ยวชาญเรื่องวัฒนธรรมร่วมสมัยของเกาหลีวิเคราะห์ว่า การที่วงการเคป็อปได้สร้างนักร้องให้เป็นไอดอล ทำให้ต้องเน้นที่ภาพลักษณ์มากกว่าผลงานเพลง และจากเหตุนี้ทำให้หลายวงมีความขัดแย้งและชิงดีชิงเด่นกันเองระหว่างสมาชิก หากมีคนใดคนหนึ่งโดดเด่นกว่าคนอื่น ทำให้ต้นสังกัดบางบริษัทต้องเฉลี่ยรายได้ให้เท่าเทียมกัน.
ดูเพิ่มเติม
กลุ่มดนตรีที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2540
- คาซาเบียน
- จิมคลาสฮีโรส์
- นอร์มาจีน (วงดนตรี)
- มอร์นิงมูซูเมะ
- มุก (วงดนตรีญี่ปุ่น)
- ลอสท์โพรเฟ็ทส์
- อาร์ตฟูล ด็อดเจอร์ (วงดนตรีอังกฤษ)
- เชคส์กีส์
- เดธแคบฟอร์คิวตี
- เดสทินีส์ไชลด์
- เดอร์ ออง เกรย์
- เดอะดิซโซซิเอทีฟส์
- เดอะไวต์สไตรปส์
- เบนกาบอยส์
- เมย์เดย์ (วงดนตรีไต้หวัน)
- เยลโลว์คาร์ด
- โคลด์เพลย์
- โซลฟลาย
- ไฟฟ์ (วงดนตรี)
ศิลปินสังกัดดีเอสพีมีเดีย
- คลิก-บี
- คัง จี-ย็อง
- คารา
- คิม ฮย็อง-จุน
- คิม ฮย็อน-จุง
- คิม แจ-คย็อง
- คู ฮา-รา
- ซ็อง ยู-รี
- ดับเบิลเอส 501
- นิโคล ช็อง
- พัก กยู-รี
- อี ฮโยรี
- อีจิน
- ฮัน ซึง-ย็อน
- เชคส์กีส์
- เรนโบว์ (วงดนตรีเกาหลี)
- เอ-แจ็กซ์
- เอพริล (วงดนตรี)