โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เจ้าฟ้าสังวาลย์

ดัชนี เจ้าฟ้าสังวาลย์

้าฟ้าสังวาลย์คำให้การขุนหลวง วัดประดู่ทรงธรรม, ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง, หน้า 285 หรือ อินทสุชาเทวีคำให้การชาวกรุงเก่า, ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง, หน้า 116 บางแห่งออกพระนามว่าเจ้าฟ้านิ่มพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 366-367 หรือนวนคำให้การชาวกรุงเก่า, ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง, หน้า 175 เป็นพระมเหสีฝ่ายซ้ายในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ และเป็นพระชนนีของเจ้าฟ้ากุณฑล และเจ้าฟ้ามงกุฎ ซึ่งทั้งสองพระองค์ได้พระราชนิพนธ์บทละครเรื่อง อิเหนา และ ดาหลัง เจ้าฟ้าสังวาลย์ทรงคบชู้กับเจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์ จึงต้องพระอาญาเฆี่ยนจนกระทั่งพิราลัย สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศจึงให้นำพระศพของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศและเจ้าฟ้าสังวาลย์ไปฝัง ณ วัดไชยวัฒนารามคำให้การขุนหลวงหาวัด (ฉบับหลวง), ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง, หน้า 488.

13 ความสัมพันธ์: พระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)ราชวงศ์บ้านพลูหลวงวัดไชยวัฒนารามสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9สมเด็จพระเพทราชาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศอิเหนาดาหลังคำให้การชาวกรุงเก่าคำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรมเจ้าฟ้าเจ้าฟ้ากุณฑล เจ้าฟ้ามงกุฎเจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์

พระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)

ระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) เป็นพงศาวดารสยาม เนื้อหาเริ่มตั้งแต่แรกสถาปนากรุงศรีอยุธยาจนสิ้นสุดรัชกาลสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ต้นฉบับเป็นสมุดไทยจำนวน 22 เล่ม ในบางเล่มมีข้อความขาดหายบางส่วน แต่ปัจจุบันพบว่าเหลือเพียง 11 เล่ม.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าสังวาลย์และพระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์บ้านพลูหลวง

ราชวงศ์บ้านพลูหลวง เป็นราชวงศ์ที่ 5 และเป็นราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองอาณาจักรอยุธยาก่อนการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง ในปี..

ใหม่!!: เจ้าฟ้าสังวาลย์และราชวงศ์บ้านพลูหลวง · ดูเพิ่มเติม »

วัดไชยวัฒนาราม

วัดไชยวัฒนาราม หรือ วัดชัยวัฒนาราม เป็นวัดเก่าแก่สมัยอยุธยาตอนปลายในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตั้งอยู่ที่ ตำบลบ้านป้อม อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา บริเวณริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ทางฝั่งตะวันตกนอกเกาะเมือง วัดไชยวัฒนารามเป็นวัดสร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าปราสาททอง พ.ศ. 2173โดยเดิมบริเวณที่ตั้งของวัดแห่งนี้เคยเป็นที่อยู่ของพระราชมารดาที่ได้สิ้นพระชนม์ไปก่อนที่พระเจ้าปราสาททองได้เสวยราชสมบัติเป็นกษัตริย์ เมื่อพระองค์ได้เสวยราชสมบัติ พระองค์จึงได้สร้างวัดไชยวัฒนารามขึ้นเพื่ออุทิศผลบุญนี้ให้กับพระราชมารดาของพระองค์ และอีกประการหนึ่งวัดนี้อาจถูกสร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์แห่งชัยชนะเหนือเขมรด้วย จึงทำให้มีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมส่วนหนึ่งมาจากปราสาทนครวั.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าสังวาลย์และวัดไชยวัฒนาราม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9

มเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 หรือ สมเด็จพระที่นั่งท้ายสระพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม), หน้า 347 หรือ พระเจ้าท้ายสระนามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 165 หรือ พระเจ้าภูมินทราชา หรือ พระเจ้าบรรยงก์รัตนาสน์ เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 30 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นพระองค์ที่สามแห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง ราชวงศ์สุดท้ายของอาณาจักรอยุธยา ทรงครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: เจ้าฟ้าสังวาลย์และสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเพทราชา

มเด็จพระมหาบุรุษ หรือ สมเด็จพระเพทราชา เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 28 ของอาณาจักรอยุธยา และเป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์บ้านพลูหลวง ทรงครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: เจ้าฟ้าสังวาลย์และสมเด็จพระเพทราชา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ

มเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ หรือ พระมหาธรรมราชา เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 31 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นพระองค์ที่ 4 ในราชวงศ์บ้านพลูหลวง.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าสังวาลย์และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ · ดูเพิ่มเติม »

อิเหนา

ละครของกรมศิลปากร เรื่อง “อิเหนา” ตอนส่งดอกลำเจียกให้นางค่อม แสดงเมื่อประมาณ พ.ศ. 2483 อิเหนาเป็น วรรณคดีเก่าแก่เรื่องหนึ่งของไทย เป็นที่รู้จักกันมานาน เข้าใจว่าน่าจะเป็นช่วงปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยได้ผ่านมาจากหญิงเชลยปัตตานี ที่เป็นข้าหลวงรับใช้พระราชธิดาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ (ครองราชย์ พ.ศ. 2275 – 2301) โดยเล่าถวายเจ้าฟ้ากุณฑลและเจ้าฟ้ามงกุฎ พระราชธิดา จากนั้นพระราชธิดาทั้งสองได้ทรงแต่งเรื่องขึ้นมาองค์ละเรื่อง เรียกว่าอิเหนาเล็ก (อิเหนา) และอิเหนาใหญ่ (ดาหลัง) ประวัติดังกล่าวมีบันทึกไว้ในพระราชนิพนธ์อิเหนา ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ดังนี้ นอกจากนี้ ยังมีบรรยายไว้ในปุณโณวาทคำฉันท์ ของพระมหานาค วัดท่าทราย ระบุถึงการนมัสการพระพุทธบาทสระบุรี ในสมัยพระเจ้าอยู่หัวในพระบรมโกศเช่นกัน โดยเล่าว่ามีงานมหรสพที่เล่นเรื่องอิเหนา ดังนี้ เนื้อเรื่องตรงกับอิเหนาเล็ก ที่ว่าถึงตอนลักบุษบาไปไว้ในถ้ำ ซึ่งไม่ปรากฏในเรื่องอิเหนาใหญ่ เรื่องอิเหนา หรือที่เรียกกันว่านิทานปันหยีนั้น เป็นนิทานที่เล่าแพร่หลายกันมากในชวา เชื่อกันว่าเป็นนิยายอิงประวัติศาสตร์ของชวา ในสมัยพุทธศตวรรษที่ 16 ปรุงแต่งมาจากพงศาวดารชวา และมีด้วยกันหลายสำนวน พงศาวดารเรียกอิเหนาว่า “ ปันจี อินู กรัตปาตี” (Panji Inu Kartapati) แต่ในหมู่ชาวชวามักเรียกกันสั้นๆ ว่า “ปันหยี” (Panji) ส่วนเรื่องอิเหนาที่เป็นนิทานนั้น น่าจะแต่งขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ 20-21 หรือในยุคเสื่อมของราชวงศ์อิเหนาแห่งอาณาจักรมัชปาหิต และอิสลามเริ่มเข้ามาครอบครอง นิทานปันหยีของชวานั้น มีด้วยกันหลายฉบับ แต่ฉบับที่ตรงกับอิเหนาของเรานั้น คือ ฉบับมาลัต ใช้ภาษากวีของชวาโบราณ มาจากเกาะบาหลี.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าสังวาลย์และอิเหนา · ดูเพิ่มเติม »

ดาหลัง

หน้าปกหนังสือดาหลัง พิมพ์พระราชทานในงานถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระพันวัสสาอัยิกาเจ้า ดาหลัง เป็นวรรณคดีสำคัญเรื่องหนึ่งของไทยจัดอยู่ในประเภทบทละครใน ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 4 เรื่องคือ รามเกียรติ์ อุณรุท ดาหลัง และ อิเหนา โดย ดาหลัง และ อิเหนา นั้นมีต้นเค้ามาจากนิทานปันหยีของทางชวาเหมือนกัน แต่ความนิยมในดาหลังนั้นมีน้อยมาก อันจะสังเกตได้ว่าแทบไม่มีผู้ใดคิดจะหยิบมาอ่านหรือนำมาศึกษาอย่างจริงจังอาจเพราะด้วยเนื้อหานั้นค่อนข้างรุนแรงกว่าอิเหนา ภาษานั้นไม่ไพเราะลื่นไหลน่าอ่านเท่ากับอิเหนาฉบับรัชกาลที่ 2 และเนื้อเรื่องที่ได้ตีพิมพ์ออกมานั้นไม่จบตอน ขาดในส่วนของตอนจบไป จึงไม่มีใครทราบว่าเรื่องดาหลังนั้นแท้จริงแล้วจบอย่างไร จากสาเหตุข้างต้นจึงน่าจะเป็นเหตุให้วรรณคดีเรื่องนี้ถูกมองข้ามไปโดยปร.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าสังวาลย์และดาหลัง · ดูเพิ่มเติม »

คำให้การชาวกรุงเก่า

ำให้การชาวกรุงเก่า เป็นหนังสือพงศาวดารบอกเล่าเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทยโดยเฉพาะช่วงอาณาจักรอยุธยา ตั้งแต่ก่อตั้งอาณาจักร จนกระทั่งเสียแก่พม่าใน..

ใหม่!!: เจ้าฟ้าสังวาลย์และคำให้การชาวกรุงเก่า · ดูเพิ่มเติม »

คำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม

ำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม เอกสารจากหอหลวง เป็นเอกสารยุคปลายกรุงศรีอยุธยา สันนิษฐานว่าเขียนขึ้นราวรัชสมัยของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 หรือ พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ มีเนื้อหาเป็นเรื่องเรื่องเล่าจากความทรงจำ สันนิษฐานว่ารับการคัดลอกและเรียบเรียงจากต้นฉบับในหอหลวง เอกสารบรรยายสภาพกรุงศรีอยุธยาโดยละเอียด ข้อมูลเหล่านี้เมื่อสำรวจศึกษาพื้นที่แล้ว พบว่ามีคำถูกต้องแม่นยำ ในส่วนหลังของเอกสารบรรยายถึงโบราณราชประเพณี ได้แก่ ธรรมเนียมถือน้ำ พระราชพิธีลงสรงเจ้าฟ้า พิธีโสกันต์ ว่าด้วยเครื่องยศสำหรับศพ แบบอย่างการพระเมรุ ยังมีบรรยายถึงตำแหน่งยศพระราชาคณะฐานานุกรม มีตอนทีว่าด้วยพระพิไชยเสนา เป็นตำราสอนข้อความประพฤติของราชการ ตอนสุดท้ายเล่าเกี่ยวกับเหตุการณ์สมัยอยุธยาตอนหลาย ตั้งแต่รัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและช่วงต้นรัชกาลสมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์คำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม: เอกสารจากหอหลวง.นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช โครงการเลือกสรรหนังสือ, 2555.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าสังวาลย์และคำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าฟ้า

้าฟ้า สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าสังวาลย์และเจ้าฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าฟ้ากุณฑล เจ้าฟ้ามงกุฎ

้าฟ้าหญิงกุณฑลและเจ้าฟ้าหญิงมงกุฎ เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและเจ้าฟ้าสังวาลย์ และเป็นพระขนิษฐาต่างพระมารดาของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศรไชยเชษฐสุริยวงศ์ (เจ้าฟ้ากุ้ง) เจ้าฟ้าทั้ง 2 พระองค์นั้นเป็นผู้พระราชนิพนธ์บทละครเรื่องดาหลังและอิเหน.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าสังวาลย์และเจ้าฟ้ากุณฑล เจ้าฟ้ามงกุฎ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์

กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ซึ่งมีพระนามเดิมว่า เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์ หรือพระนามที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า เจ้าฟ้ากุ้ง เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและกรมหลวงอภัยนุชิต พระองค์มีพระปรีชาสามารถหลายด้าน โดยเฉพาะด้านวรรณกรรมนั้น ทรงพระนิพนธ์วรรณกรรมไว้หลายเรื่อง เช่น กาพย์เห่เรือ นันโทปนันทสูตรคำหลวง พระมาลัยคำหลวง เนื่องจากพระองค์ลักลอบเป็นชู้กับพระสนมของพระราชบิดาจึงต้องพระอาญาให้เฆี่ยน เป็นเหตุให้พระองค์เสด็จสวรรคตในที.

ใหม่!!: เจ้าฟ้าสังวาลย์และเจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »