สารบัญ
8 ความสัมพันธ์: พระยาพิมพิสารราชาพระยาศรีสุริยวงศ์ (มังไชย)พระยาอินทวิไชยพระยาเทพวงศ์ราชวงศ์เทพวงศ์นครรัฐแพร่แม่เจ้าสุชาดาเจ้านายฝ่ายเหนือ
พระยาพิมพิสารราชา
ระยาพิมพิสารราชา หรือ เจ้าหลวงพิมพิสาร ทรงเป็นเจ้าผู้ครองนครแพร่ องค์ที่ 21 (องค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์เทพวงศ์) ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้เสด็จขึ้นครองนครแพร่ต่อจากพระยาอินทวิไชยผู้เป็นราชมาตุลาของพระอง.
ดู เจ้าปิ่นแก้วและพระยาพิมพิสารราชา
พระยาศรีสุริยวงศ์ (มังไชย)
ระยาศรีสุริยวงศ์ หรือเจ้าหลวงนครไชยวงศา หรือพญามังไชย ทรงเป็นเจ้าผู้ครองนครแพร่ องค์ที่ 18 ได้รับการสถาปนาจากกษัตริย์พม่าในยุคพม่าปกครอง ภายหลังได้เข้าสวามิภักดิ์ต่อพระเจ้ากรุงธนบุรีในปี..
ดู เจ้าปิ่นแก้วและพระยาศรีสุริยวงศ์ (มังไชย)
พระยาอินทวิไชย
ระยาอินทวิไชย หรือ เจ้าหลวงอินต๊ะวิไจย เป็นเจ้าผู้ครองนครแพร่ องค์ที่ 20 (องค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์เทพวงศ์) ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้เสด็จขึ้นครองนครแพร่ต่อจากพระยาเทพวงศ์ผู้เป็นร.
ดู เจ้าปิ่นแก้วและพระยาอินทวิไชย
พระยาเทพวงศ์
ระยาเทพวงศ์ หรือ เจ้าหลวงเทพวงศ์ ทรงเป็นเจ้าผู้ครองนครแพร่ องค์ที่ 19 (องค์ที่ 1 แห่งราชวงศ์เทพวงศ์) ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงเป็นปฐมราชวงศ์แห่งเจ้าผู้ครองนครแพร่เชื้อสายเจ้าหลวง 4 องค์สุดท้าย หรือราชวงศ์เทพวง.
ดู เจ้าปิ่นแก้วและพระยาเทพวงศ์
ราชวงศ์เทพวงศ์
ราชวงศ์เทพวงศ์ หรือ ราชวงศ์แพร่ เป็นราชวงศ์ที่สืบเชื้อสายมาจากพระยาเทพวงศ์ ที่ปกครองนครแพร่มาตั้งแต..
ดู เจ้าปิ่นแก้วและราชวงศ์เทพวงศ์
นครรัฐแพร่
นครรัฐแพร่ หรือ นครแพร่ เป็นนครรัฐอิสระขนาดเล็กในอดีตรัฐหนึ่ง ซึ่งตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำยม เดิมเรียกว่า “เมืองพล” นครพล, หรือพลนคร, “เวียงโกศัย” หรือโกศัยนคร, “เมืองแพล” มีชื่อเต็มว่า โกเสยุยธชุชพลวิชยแพร่แก้วเมืองมุร จนกระทั่ง..
แม่เจ้าสุชาดา
แม่เจ้าสุชาดาราชเทวี เป็นพระธิดาในพระยาศรีสุริยวงศ์ (มังไชย) เจ้าผู้ครองนครแพร่องค์ที่ 18 และเป็นพระชายาในพระยาเทพวงศ์ เจ้าผู้ครองนครแพร่องค์ที่ 19.
ดู เจ้าปิ่นแก้วและแม่เจ้าสุชาดา
เจ้านายฝ่ายเหนือ
้านายฝ่ายเหนือ หมายถึง เจ้านายผู้สืบเชื้อสายในราชวงศ์ที่เคยปกครองอาณาจักรหัวเมืองเหนือ ซึ่งเข้ามาเป็นประเทศราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช อันได้แก่ เจ้าในราชวงศ์ทิพย์จักรที่ปกครองนครเชียงใหม่ นครลำปาง และนครลำพูน ราชวงศ์น่านที่ปกครองนครน่าน และราชวงศ์เทพวงศ์ที่ปกครองนครแพร่ ในอดีตเจ้าผู้ครองนครต่าง ๆ มีอำนาจสิทธิ์ขาดปกครองดินแดนของตน แต่มีหน้าที่ต้องส่งเครื่องบรรณาการถวายราชสำนักสยามเพื่อแสดงความจงรักภักดีเท่านั้น อย่างไรก็ตามราชสำนักสยามได้เริ่มเข้ามามีบทบาทสำคัญในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งภายในราชสำนักประเทศราชหลายครั้ง จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงยกเลิกการปกครองแบบประเทศราชเพื่อรวมศูนย์อำนาจการปกครองไว้ที่กรุงเทพฯ โดยเฉพาะ ตำแหน่งเจ้าประเทศราชก็ให้สิ้นสุดเมื่อเจ้านครนั้นถึงแก่พิราลัย ปัจจุบันเจ้านายฝ่ายเหนือในราชวงศ์ทิพย์จักรยังคงมีการสืบทอดกันจากรุ่นสู่รุ่น และยังมีการรวมกลุ่มดำเนินกิจกรรมต่างๆ ตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเมื่อปี..