โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จักรพรรดิถังเกาจง

ดัชนี จักรพรรดิถังเกาจง

มเด็จพระจักรพรรดิเกาจง (ค.ศ. 649-683, พ.ศ. 1192-1226) จักรพรรดิองค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์ถัง ประสูติเมื่อปี..

18 ความสัมพันธ์: บูเช็กเทียนพ.ศ. 1171พ.ศ. 1186พ.ศ. 1192พ.ศ. 1226พระราชวังบวรสถานพิมุขพระสนมเซียวราชวงศ์ถังหลี่ เสียน (เจ้าชายแห่งราชวงศ์ถัง)หลี่หงจักรพรรดิจีนจักรพรรดิถังรุ่ยจงจักรพรรดิถังจงจงจักรพรรดิถังไท่จงจักรพรรดิถังเกาจงจักรพรรดินีหวัง (จักรพรรดิถังเกาจง)21 กรกฎาคม27 ธันวาคม

บูเช็กเทียน

อู่ เจ๋อเทียน ตามสำเนียงกลาง หรือ บูเช็กเทียน ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (พระราชสมภพ 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 624ปีประสูตินี้ ได้มาจากการเอาพระชนม์กับปีสวรรคตที่ระบุไว้ใน นวพงศาวดารถัง (New Book of Tang) ฉบับ ค.ศ. 1045–1060 มาบวกลบกัน ผลลัพธ์ดังกล่าวนี้เป็นที่ยอมรับของนักประวัติศาสตร์สมัยใหม่ แต่ถ้าคำนวณตามที่ระบุไว้ใน พงศาวดารถัง (Book of Tang) ฉบับ ค.ศ. 941-945 จะได้ปีประสูติเป็น ค.ศ. 623; สวรรคต 16 ธันวาคม ค.ศ. 705)Paludan, 100 บางทีเรียก อู่ เจ้า หรือ อู่ โฮ่ว ในราชวงศ์ถังมักออกพระนามว่า พระนางสวรรค์ และในสมัยต่อมาว่า พระนางอู่ ทรงเป็นสตรีพระองค์เดียวในประวัติศาสตร์จีนอันยาวนานกว่า 4,000 ปี ที่ได้เป็น "ฮ่องเต้" ในแผ่นดินของพระภัสดาและพระราชบุตรของพระนางระหว่างปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิถังเกาจงและบูเช็กเทียน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1171

ทธศักราช 1171 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิถังเกาจงและพ.ศ. 1171 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1186

ทธศักราช 1186 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิถังเกาจงและพ.ศ. 1186 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1192

ทธศักราช 1192 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิถังเกาจงและพ.ศ. 1192 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1226

ทธศักราช 1226 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิถังเกาจงและพ.ศ. 1226 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังบวรสถานพิมุข

ระราชวังบวรสถานพิมุข หรือ วังหลัง คือ วังของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระอนุรักษ์เทเวศร์ กรมพระราชวังบวรสถานภิมุข ซึ่งทรงเป็นกรมพระราชวังบวรสถานภิมุขในรัชกาลที่ 1 สร้างขึ้นที่ตำบลสวนลิ้นจี่ ตั้งแต่เมื่อครั้งยังดำรงพระยศเป็นสมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงอนุรักษ์เทเวศร์ ถือว่าเป็นพระราชนิเวศน์เดิมของพระองค์ท่าน พื้นที่ดังกล่าวนี้มีขอบเขตทางทิศเหนือจรดกำแพงเมืองธนบุรีเดิม ทางทิศใต้จรดฉางเกลือ วังหลังนี้เป็นกำลังสำคัญที่จะป้องกันพระนครทางทิศตะวันตกฝ่ายเหนือจากการรุกรานของข้าศึก ถัดจากวังหลังลงไปเป็นตำบลสวนมังคุด ซึ่งเป็นบ้านเดิมของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยาเทพสุดาวดี ต่อไปเป็นบ้านปูนและบ้านขมิ้นตามลำดับ ครั้นกรมพระราชวังหลังทิวงคตแล้ว วังก็ถูกแบ่งออกเป็นตอน ๆ ตอนพระมนเทียรสถานเดิม เจ้าครอกทองอยู่ ที่เรียกกันทั่วไปว่า "เจ้าครอกข้างใน" ประทับอยู่ ทางตอนใต้แบ่งออกเป็น 3 วัง คือ.

ใหม่!!: จักรพรรดิถังเกาจงและพระราชวังบวรสถานพิมุข · ดูเพิ่มเติม »

พระสนมเซียว

ระสนมเซียว (Consort Xiao, ? – 1198) พระสนมเอกในตำแหน่ง ซูเฟย (Shufei) พระสนมเอกใน จักรพรรดิถังเกาจง (หลี่จื้อ) จักรพรรดิองค์ที่ 3 แห่ง ราชวงศ์ถัง พระองค์เป็นที่โปรดปรานขององค์จักรพรรดิมากโดยมีพระราชโอรส 1 พระองค์และพระราชธิดา 2 พระองค์ พระองค์มีพระประวัติน้อยมากแต่สันนิษฐานว่าได้เข้ามาถวายตัวเป็นบาทบริจาริกาตั้งแต่รัชสมัย จักรพรรดิถังไท่จง จักรพรรดิองค์ที่ 2 พระราชบิดาของจักรพรรดิเกาจงครั้งองค์จักรพรรดิเกาจงยังคงเป็นองค์ชายรัชทายาทโดยพระองค์มีพระประสูติกาลพระโอรสองค์แรกคือองค์ชาย หลี่ซู่เจี๋ย เมื่อ..

ใหม่!!: จักรพรรดิถังเกาจงและพระสนมเซียว · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ถัง

ราชวงศ์ถัง (พ.ศ. 1161-1450) ราชวงศ์นี้สร้างความเจริญรุ่งเรืองให้จีนอย่างมาก ทั้งด้านศิลปกรรม วัฒนธรรม และอีกหลาย ๆ ด้าน หลี่ยวนได้ตั้งตัวเองเป็น จักรพรรดิถังเกาจู่ หลังจากรวมแผ่นดินให้เป็นปึกแผ่นแล้ว ก็เกิดการแย่งชิงตำแหน่งรัชทายาทขึ้น ระหว่างโอรสหลี่เจี้ยนเฉิง หลี่ซื่อหมิน และหลี่หยวนจี๋ หลี่ซื่อหมินนั้น มีความดีความชอบมาก เนื่องจากรบชนะมาหลายครั้ง ต่อมา ถังเกาจู่ก็สละราชสมบัติ ตั้งตนเองเป็นไท่ช่างหวง ราชวงศ์ถังปกครองประเทศนานถึง 289 ปีตั้งแต..

ใหม่!!: จักรพรรดิถังเกาจงและราชวงศ์ถัง · ดูเพิ่มเติม »

หลี่ เสียน (เจ้าชายแห่งราชวงศ์ถัง)

องค์ชายหลี่เสียน (Li Xian, ค.ศ. 653-684) โอรสองค์ที่ 6 ใน จักรพรรดิถังเกาจง และเป็นโอรสองค์ที่ 2 ในพระนาง บูเช็กเทียน ประสูติเมื่อ ค.ศ. 653 (พ.ศ. 1196) เมื่อหลี่หงพระเชษฐาซึ่งเป็นรัชทายาทได้สิ้นพระชนม์ลงในปี ค.ศ. 675 (พ.ศ. 1218) ขณะพระชนม์เพียง 23 พรรษาหลี่เสียนจึงขึ้นเป็นองค์รัชทายาทแทนดำรงตำแหน่งอยู่ได้ 8 ปีก็ถูกถอดในปี ค.ศ. 683 ก่อนถังเกาจงสวรรคตได้ไม่นานขณะพระชนม์ได้ 30 พรรษาโดยทรงถูกเนรเทศไป เสฉวน และสิ้นพระชนม์ที่นั้นในปีต่อมาขณะพระชนม์ได้ 31 พรรษา หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ถัง.

ใหม่!!: จักรพรรดิถังเกาจงและหลี่ เสียน (เจ้าชายแห่งราชวงศ์ถัง) · ดูเพิ่มเติม »

หลี่หง

องค์ชายหลี่หง (Li Hong) อดีตรัชทายาทในสมัยราชวงศ์ถัง องค์ชายหลี่หงประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: จักรพรรดิถังเกาจงและหลี่หง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิจีน

มเด็จพระเจ้ากรุงจีน หรือ จักรพรรดิจีน (หวงตี้; ฮกเกี้ยน:ฮ่องเต้; แต้จิ๋ว:อ้วงตี่) คือประมุขจักรวรรดิจีน โดยมีจิ๋นซีฮ่องเต้เป็นฮ่องเต้พระองค์แรก ก่อนสมัยราชวงศ์ฉิน ประเทศจีนได้ถูกแบ่งเป็นแว่นแคว้นต่าง ๆ มากมาย และแต่ละแคว้นจะมีผู้ปกครอง เรียกว่า อ๋อง (王; พินอิน:wáng) ซึ่งแปลว่า พระมหากษัตริย์ แต่ต่อมาหลังจากอ๋องแห่งแคว้นฉินได้รวบรวมแว่นแคว้นต่าง ๆ เป็นหนึ่งเดียวจึงสถาปนาแผ่นดินเป็นจักรวรรดิจีน และประกาศใช้เป็นพระนามคำนำหน้าว่าจักรพรรดิหรือฮ่องเต้ คือฉินซือหวงตี้ หรือจิ๋นซีฮ่องเต้ ตั้งแต่สมัยราชวงศ์ฉิน ฮ่องเต้ได้รับการเคารพในฐานะโอรสแห่งสวรรค์ คือเปรียบเสมือนได้รับอำนาจจากสวรรค์มาให้ปกครองประชาชน ตามหลักการ "สูงสุดโอรสสวรรค์ ล่างสุดนั้นประชาราษฎร" (最高的是天子,最低的是人民) การสืบทอดตำแหน่งฮ่องเต้มักอยู่ในรูปแบบจากบิดาไปยังบุตร โดยคำว่า ฮ่องเต้ หรือ หวงตี้ ถ้าแปลตรงตัวจะสามารถแปลได้ว่า "ผู้ปกครองที่ยิ่งใหญ่" (หวง 皇 - ผู้ทรงศักดิ์/Imperial, ตี้ 帝 - องค์อธิปัตย์/Sovereign) โดยนำมาจากพระนามฮ่องเต้องค์แรก คือ ฉินซือหวงตี้ (秦始皇帝) หลังจากนั้นตำแหน่งฮ่องเต้ก็ดำรงอยู่มานับพันปีซึ่งตั้งแต่ราชวงศ์ฉิน ราชวงศ์ฮั่น ราชวงศ์จิ้น ราชวงศ์สุย ราชวงศ์ถัง ราชวงศ์ซ่ง ราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หมิง โดยมาสิ้นสุดที่ราชวงศ์ชิง เนื่องจากบริหารบ้านเมืองล้มเหลว และยังถูกประเทศต่างชาติรุกราน เป็นเหตุให้ประเทศจีนเกิดการปฏิรูปการปกครองจากระบอบระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ ตำแหน่งฮ่องเต้จึงสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1912 ฮ่องเต้พระองค์สุดท้ายของประเทศจีนคือ จักรพรรดิฮงเซี่ยนหรือหยวน ซื่อไข่ แต่ไม่ได้รับการยอมรับจากประชาชน โดยฮ่องเต้พระองค์สุดท้ายที่ได้รับการยอมรับจากประชาชนคือ สมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋แห่งราชวงศ์ชิง.

ใหม่!!: จักรพรรดิถังเกาจงและจักรพรรดิจีน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังรุ่ยจง

มเด็จพระจักรพรรดิรุ่ยจง (ค.ศ. 662-716) จักรพรรดิองค์ที่ 5 แห่ง ราชวงศ์ถัง พระนามเดิมว่า หลี่ตั้น (李旦) ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิถังเกาจงและจักรพรรดิถังรุ่ยจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังจงจง

มเด็จพระจักรพรรดิถังจงจง (ค.ศ. 656–710) จักรพรรดิองค์ที่ 4 แห่ง ราชวงศ์ถัง มีพระนามเดิมว่าหลี่เสี่ยน (李顯) ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิถังเกาจงและจักรพรรดิถังจงจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังไท่จง

มเด็จพระจักรพรรดิถังไท่จง (1170-1186) พระนามเดิม หลี่ซื่อหมิน จักรพรรดิองค์ที่สองแห่งราชวงศ์ถังของประเทศจีน (ราว 1,600 ปี) ได้ยึดถือหลักคำสอนเรื่องนี้ของบรมครูขงจื่อในการ ปกครองประเทศจีน และทำให้ประเทศจีนในยุคที่พระองค์ทรงปกครองรุ่งเรืองที่สุดยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์ 5 เป็นประเทศมหาอำนาจของโลกในยุคสมัยของพระองค์ราชวงศ์ถังนั้นยิ่งใหญ่มากมายนั้นเลยก็ว่าได้ แม้ว่าพระองค์มีพระราชอำนาจสูงสุด สามารถตัดสินพระทัยสั่งการใด ๆ ก็ได้ พระองค์ก็ทรงมิได้ปฏิบัติเช่นนั้น พระองค์จะไต่ถามความเห็นของเหล่าเสนาบดี และที่ปรึกษาของพระองค์ก่อนที่จะตัดสินพระทัยเสมอ โดยเฉพาะที่ปรึกษาท่านหนึ่ง นาม เว่ยเจิง ซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็นที่ปรึกษาของพี่ชายพระองค์ที่เป็นรัชทายาท และได้แนะนำให้พี่ชายของพระองค์ วางแผนสังหารพระองค์ เนื่องจากที่ปรึกษาท่านนี้มองเห็นว่า พระองค์จะเป็นภัยก่อการขบถยึดราชบัลลังก์ของพี่ชาย เนื่องจากถังไท่จงเหนือชั้นกว่า จึงวางแผนซ้อนแผน แทนที่พระองค์จะถูกสังหาร พี่ชายของพระองค์กลับถูกปลิดพระชนม์ชีพแทน แต่ถังไท่จงรับสั่งมิให้ทหารของพระองค์ทำร้ายที่ปรึกษาผู้นั้น นอกจากไม่ทำร้ายแล้ว พระองค์ยังทรงแต่งตั้งเขาขึ้นเป็นประธานที่ปรึกษา เมื่อพระองค์ขึ้นครองราชย์สืบต่อจากพระราชบิดาอีก ด้วยเหตุผลก็คือ พระองค์ท่านจะได้มีที่ปรึกษาอย่างน้อยหนึ่งท่านที่คิดแตกต่าง หรือไม่เหมือนกับที่พระองค์คิด กล้าคัดค้านพระองค์อย่างตรงไปตรงมาโดยไม่เกรงกลัว หรือหวาดหวั่นต่อพระราชอำนาจ จักรพรรดิถังไท่จงได้รับการยกย่องจากนักประวัติศาสตร์ให้เป็นมหาจักรพรรดิของจีนเพราะพระองค์แตกต่างจากจักรพรรดิทั้งปวง กล่าวคือ ไม่ว่าเชื้อพระวงศ์ก็ดี หรือเสนาบดีก็ดี หรือที่ปรึกษาก็ดีไปแอบนินทา ให้ร้ายพระองค์ลับหลัง พระองค์ก็จะทรงลงพระอาญา เพราะถือว่า พระองค์ทรงให้โอกาสวิพากษ์วิจารณ์อย่างเปิดเผย และถูกต้องแล้วบุคคลเหล่านี้กลับไม่ทำ หรือไม่ใช้โอกาสดังกล่าว กลับมาแอบทำลับหลังพระองค์ จึงต้องถูกลงโทษให้เป็นเยี่ยงอย่าง ส่วนผู้ที่กล้าวิพากษ์วิจารณ์ หรือคัดค้านพระองค์ต่อหน้าพระพักตร์อย่างชนิดตรงไปตรงมา อย่างเช่น อดีตที่ปรึกษาของพระเชษฐาขององค์จักรพรรดิถังไท่จงก็ทรงปูนบำเหน็จรางวัลให้เพื่อให้บรรดาเหล่าขุนนาง หรือข้าราชบริพารมีความกล้าที่จะใช้โอกาสดังกล่าวคัดค้านพระองค์ด้วยเหตุด้วยผล ไม่ใช่ไปแอบทำข้างหลัง นอกจากนั้นพระองค์ก็ทรงปลอมเป็นสามัญชนไปกับประธานที่ปรึกษาออกตระเวนเยี่ยมประชาชนของพระองค์ และตรวจงานการปฏิบัติราชการของ เหล่าข้าราชบริพารเป็นประจำทุกปี เพื่อจะได้ทรงทราบว่า บรรดารายงานของข้าราชการที่ส่งไปให้พระองค์ทรงอ่านที่เมืองหลวงนั้นมีความถูกต้อง สอดคล้องกับความเป็นจริงมากเพียงใด ไม่ใช่ทรงอยู่แต่ในวังหลวงพึ่งพารายงานจากข้าราชการอย่างเดียว บางครั้ง หากพระองค์ประชวร พระองค์ก็จะทรงส่งประธานที่ปรึกษาของพระองค์ออกทำงานแทนพระองค์ จักรพรรดิถังไท่จงถือว่าประชาชนมีความสำคัญกว่าพระองค์ และพระราชวงศ์ เวลาพระองค์จะตัดสินพระทัยทำอะไร ก็มักจะมองไปที่ผลประโยชน์ของประชาชนก่อนเสมอ ก่อนที่จะขึ้นครองราชย์นั้น พระองค์มีพระนามว่า "หลี ซื่อ หมิน" ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: จักรพรรดิถังเกาจงและจักรพรรดิถังไท่จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังเกาจง

มเด็จพระจักรพรรดิเกาจง (ค.ศ. 649-683, พ.ศ. 1192-1226) จักรพรรดิองค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์ถัง ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิถังเกาจงและจักรพรรดิถังเกาจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีหวัง (จักรพรรดิถังเกาจง)

จักรพรรดินีหวัง (王皇后_(唐高宗)Empress Wang (Gaozong), ?-ค.ศ.655)เป็นจักรพรรดินีในสมัยราชวงศ์ถังโดยทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีองค์แรกของจักรพรรดิถังเกาจงต่อมาถูกถอดและสิ้นพระชนม์ในปีค.ศ.655 หมวดหมู่:จักรพรรดินีราชวงศ์ถัง หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ถัง หมวดหมู่:ตัวละครในบูเช็คเทียน จอมนางเหนือแผ่นดิน.

ใหม่!!: จักรพรรดิถังเกาจงและจักรพรรดินีหวัง (จักรพรรดิถังเกาจง) · ดูเพิ่มเติม »

21 กรกฎาคม

วันที่ 21 กรกฎาคม เป็นวันที่ 202 ของปี (วันที่ 203 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 163 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จักรพรรดิถังเกาจงและ21 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 ธันวาคม

วันที่ 27 ธันวาคม เป็นวันที่ 361 ของปี (วันที่ 362 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 4 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จักรพรรดิถังเกาจงและ27 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Emperor Gaozong of Tangหลี่จื้อพระเจ้าถังเกาจงถังเกาจงเจ้าชายหลี่จื้

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »