เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต

ดัชนี เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต

พัดแฉกงาพิเศษประดับพลอย พระราชทานแก่เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตบางรูป เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต คือเจ้าคณะใหญ่ผู้ปฏิบัติหน้าที่ในคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกายทุกภาค เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตรูปปัจจุบันคือสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อัมพร อมฺพโร) ซึ่งที่ประชุมมหาเถรสมาคมได้ลงมติเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน..

สารบัญ

  1. 18 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2465พ.ศ. 2471พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้ามหาเถรสมาคมวัดบวรนิเวศราชวรวิหารวัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหารวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์สมเด็จพระวันรัต (จุนท์ พฺรหฺมคุตฺโต)สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน)สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อัมพร อมฺพโร)สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (จวน อุฏฺฐายี)สังฆราชธรรมยุติกนิกายเจ้าคณะใหญ่

พ.ศ. 2465

ทธศักราช 2465 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1922 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตและพ.ศ. 2465

พ.ศ. 2471

ทธศักราช 2471 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1928 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตและพ.ศ. 2471

พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า

ระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า (16 ธันวาคม พ.ศ. 2402 - 25 สิงหาคม พ.ศ. 2480) เป็นพระราชวงศ์ในราชสกุล ชมพูนุท ดำรงสมณศักดิ์สมเด็จพระสังฆราชเป็นพระองค์ที่ 11 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อปี พ.ศ.

ดู เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตและพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า

มหาเถรสมาคม

มหาเถรสมาคม (accessdate) เป็นองค์กรสูงสุดในการปกครองคณะสงฆ์ไทยตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 และพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ 2)..

ดู เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตและมหาเถรสมาคม

วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร

วัดบวรนิเวศ ราชวรวิหาร หรือ วัดบวรนิเวศวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่ริมถนนบวรนิเวศและถนนพระสุเมรุ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร พระอารามนี้เคยเป็นที่ประทับของสมเด็จพระสังฆราชถึง 4 พระองค์ และเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ทั้งยังเป็นวัดประจำรัชกาลที่ ๖ (พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) และ วัดประจำรัชกาลที่ ๙ (พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช).

ดู เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตและวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร

วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร

วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่ริมถนนและคลองผดุงกรุงเกษม ด้านใกล้ถนนราชดำเนินนอก.

ดู เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตและวัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร

วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร

วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเป็นวัดประจำรัชกาลเมื่อ พ.ศ.

ดู เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตและวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร

สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)

มเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก พระนามเดิม เจริญ คชวัตร ฉายา สุวฑฺฒโน (3 ตุลาคม พ.ศ. 2456 – 24 ตุลาคม พ.ศ.

ดู เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตและสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส

มเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 10 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เสด็จสถิต ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ได้รับมหาสมณุตตมาภิเษกเมื่อปี พ.ศ.

ดู เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตและสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์

มเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 8 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และเป็นหนึ่งในสิบพระเถระผู้เป็นต้นวงศ์ธรรมยุต ประทับ ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ได้รับมหาสมณุตมาภิเษกเมื่อปี พ.ศ.

ดู เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตและสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์

สมเด็จพระวันรัต (จุนท์ พฺรหฺมคุตฺโต)

มเด็จพระวันรัต ฉายา พฺรหฺมคุตฺโต (นามเดิม:จุนท์ พราหมณ์พิทักษ์) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ผู้ปฏิบัติหน้าที่เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต ปัจจุบันดำรงตำแหน่งกรรมการมหาเถรสมาคมโดยตำแหน่ง และเจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร และผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดตรีทศเทพวรวิหาร.

ดู เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตและสมเด็จพระวันรัต (จุนท์ พฺรหฺมคุตฺโต)

สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์

มเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 13 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราชเมื่อปี พ.ศ.

ดู เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตและสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน)

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก พระนามเดิม วาสน์ นิลประภา ฉายา วาสโน เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 18 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ.

ดู เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน)

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อัมพร อมฺพโร)

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก พระนามเดิม อัมพร ประสัตถพงศ์ ฉายา อมฺพโร เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 20 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ โดยทรงเริ่มดำรงตำแหน่งในวันที่ 12 กุมภาพัน..

ดู เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อัมพร อมฺพโร)

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (จวน อุฏฺฐายี)

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช พระนามเดิม จวน ศิริสม ฉายา อุฎฺฐายี สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 16 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ.

ดู เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (จวน อุฏฺฐายี)

สังฆราช

ังฆราช คือพระมหาเถระผู้เป็นใหญ่สูงสุดในสังฆมณฑล ในแต่ละประเทศ เช่น ประเทศพม่า ประเทศไทย ประเทศกัมพูชา มักมีพระสังฆราชเป็นของตน พระสังฆราชอาจเป็นประมุขเฉพาะคณะสงฆ์นิกายหนึ่งหรือเป็นประมุขคณะสงฆ์ทั้งปวงทุกนิกายในประเทศนั้น (ซึ่งเรียกว่าสกลมหาสังฆปริณายก) คำว่า สังฆราช เป็นคำสมาสจากคำว่า สงฺฆ (พระสงฆ์) + ราช (พระราชา) ซึ่งแปลว่า พระราชาแห่งคณะสง.

ดู เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตและสังฆราช

ธรรมยุติกนิกาย

ตราคณะธรรมยุต ธรรมยุติกนิกาย หรือ คณะธรรมยุต เป็นคณะสงฆ์ที่พระวชิรญาณเถระทรงตั้งขึ้นเพื่อฟื้นฟูศาสนาพุทธในสยาม และแก้ไขวัตรปฏิบัติให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัย เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวผนวชอยู่นั้น ได้ทรงศึกษาพระไตรปิฎกอย่างแตกฉานทำให้มีพระวิจารณญาณเกี่ยวกับความเป็นมาของพระพุทธศาสนา และความประพฤติปฏิบัติของพระภิกษุสามเณรได้อย่างละเอียดถี่ถ้วน เป็นเหตุให้มีพระราชดำริในอันที่จะฟื้นฟูการสั่งสอนพระพุทธศาสนา และการประพฤติปฏิบัติของพระสงฆ์ให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัยตามที่ได้ทรงศึกษา และทรงพิจารณาสอบสวนจนเป็นที่แน่แก่พระราชหฤทัยว่าถูกต้องเป็นจริงอย่างไร แล้วพระองค์ได้ทรงนำประพฤติปฏิบัติขึ้นก่อน หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งก็คือ ทรงเริ่มแก้ไขที่พระองค์เองเป็นอันดับแรก ต่อมาเมื่อมีบุคคลอื่นเห็นชอบและนิยมตาม จึงได้มีผู้ประพฤติปฏิบัติตามอย่างพระองค์ขึ้น และมีจำนวนมากขึ้นเป็นลำดับ จนเกิดเป็นพระสงฆ์หมู่หนึ่ง หรือนิกายหนึ่ง ที่ได้ชื่อในภายหลังว่า ธรรมยุติกนิกาย หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า “ธรรมยุต” อันมีความหมายว่า ผู้ประกอบด้วยธรรม หรือชอบด้วยธรรม หรือยุติตามธรรม ทั้งนี้ก็เพราะว่าพระสงฆ์นี้เกิดขึ้นด้วยมุ่งแสวงหาว่า ข้อใดเป็นธรรม เป็นวินัย เป็นสัตถุศาสน์ (คือคำสั่งสอนของพระศาสดา) แล้วปฏิบัติข้อนั้น เว้นข้อที่ไม่เป็นธรรม ไม่เป็นวินัย ไม่เป็นสัตถุศาสน์ แม้จะเป็นอาจินปฏิบัติ (ข้อปฏิบัติตามกันมาแต่ผิดพระธรรมวินัย) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการ ให้ประกาศใช้พระราชบัญญัติลักษณะการปกครองคณะสงฆ์ขึ้น เป็นครั้งแรกในประเทศไทย พระราชบัญญัติฉบับนี้มีชื่อว่า พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ร.ศ.

ดู เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตและธรรมยุติกนิกาย

เจ้าคณะใหญ่

้าคณะใหญ่ เป็นตำแหน่งทางพระสังฆาธิการระดับสูงในการปกครองคณะสงฆ์ไทย รองจากสกลมหาสังฆปริณายก โดยแบ่งการปกครอง ดังนี้.

ดู เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตและเจ้าคณะใหญ่