สารบัญ
7 ความสัมพันธ์: การปฏิรูปดินแดนในเยอรมนีรัฐของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ราชวงศ์ฮาพส์บวร์คอิมพีเรียลแอบบีย์จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์เสรีนครจักรวรรดิเครือราชรัฐ
- กลุ่มราชรัฐของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
- กลุ่มออสเตรีย
การปฏิรูปดินแดนในเยอรมนี
จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในปี ค.ศ. 1789 เป็นภาพของรัฐจำนวนมาก การปฏิรูปดินแดนในเยอรมนี (German Mediatisation) เป็นการปฏิรูปอาณาเขตการปกครองทั้งทางฆราวัสจักรและสังฆาจักร (Mediatisation และ Secularisation) ในเยอรมนีที่เกิดขึ้นระหว่างปี..
ดู เครือราชรัฐออสเตรียและการปฏิรูปดินแดนในเยอรมนี
รัฐของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
รัฐของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในปี ค.ศ. 1789 แต่ละรัฐที่เห็นเป็นสีต่าง ๆ ต่างก็มีสิทธิทางการปกครองและทางด้านการยุติธรรมที่ต่างกันไปตามแต่จะระบุโดยพระจักรพรรดิ รัฐของจักรวรรดิ (โรมันอันศักดิ์สิทธิ์) (Reichsstand หรือ Reichsstände; Imperial State/Estate) คือ “หน่วย” ที่เป็น “รัฐ” ในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่มีสิทธิในการออกเสียงในสภานิติบัญญัติแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ รัฐหลายรัฐไม่มีที่นั่งในจักรวรรดิ หรือเป็นรัฐที่มีที่นั่งแต่ไม่มีสิทธิออกเสียง หรือมีสิทธิในการเป็นปกครองตนเองภายใต้การกำกับของจักรพรรดิ รัฐของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์แต่ละรัฐไม่ขึ้นต่อประมุขของรัฐของจักรวรรดิอื่น ๆ แต่ขึ้นตรงต่อสมเด็จพระจักรพรรดิ นอกจากนั้นประมุขของรัฐในจักรวรรดิก็ยังมีสิทธิและอภิสิทธิ์หลายอย่างที่รวมทั้งสิทธิในการปกครองดินแดนของตนเองบ้าง.
ดู เครือราชรัฐออสเตรียและรัฐของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค
ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค (Haus de Habsburg) (House of Habsburg, บางครั้งเขียนว่า Hapsburg) เป็นราชวงศ์ที่สำคัญที่สุดราชวงศ์หนึ่งในทวีปยุโรป ราชวงศ์นี้ได้ปกครองประเทศสเปนและประเทศออสเตรีย รวมเวลาทั้งหมดถึง 6 ศตวรรษ แต่ที่รู้จักกันดีมากที่สุดคือ การปกครองในตำแหน่งของ จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หลังจากได้มีการสถาปนาจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ขึ้นมา พระราชวงศ์นี้ได้ปกครองรัฐและประเทศต่าง ๆ ถึง 1,800 รั.
ดู เครือราชรัฐออสเตรียและราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค
อิมพีเรียลแอบบีย์
แอบบีอ็อตโตบวยเร็นได้รับฐานะเป็น “อิมพีเรียลแอบบี” ในปี ค.ศ. 1299 อิมพีเรียลแอบบี (Reichsabteien หรือ Reichsklöster หรือ Reichsstifte, Imperial abbeys) สังฆารามหลวง คือบ้านพักของนักบวชคาทอลิกในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งได้รับ “อิมพีเรียลอิมมีเดียซี” (Reichsunmittelbarkeit) เป็น “ดินแดนอธิปไตย” ที่ขึ้นตรงต่อสมเด็จพระจักรพรรดิ (ไม่ว่าจะมีขนาดเล็กเท่าใดก็ตาม) สิทธิที่ได้รับทำให้ได้รับผลประโยชน์ต่างๆ เช่นสิทธิในการเก็บภาษีต่าง ๆ และสิทธิในการมีศาลยุติธรรม ประมุขของอิมพีเรียลแอบบีมีตำแหน่งเป็น “อิมพีเรียลอธิการอาราม” (Imperial abbot) ถ้าเป็นระดับไพรออรีหรือโพรโวสต์ (Reichspropstei) ก็จะมีตำแหน่งเป็น “อิมพีเรียลไฟรเออร์” (Reichspropst) ถ้าอารามมีฐานะเป็นราชรัฐชั้นพรินซิพาลิตี (ecclesiastical principality) ก็จะปกครองโดย “เจ้าชายอธิการอาราม” (Fürstabt หรือ Fürstpropst) ที่เทียบเท่ากับตำแหน่ง “มุขนายกผู้ครองนคร” (Fürstbischof) แต่โดยทั่วไปแล้วบ้านพักนักบวชเหล่านี้จะมีขนาดเล็กมากที่เรียกว่า “อิมพีเรียลพรีเลต” (Imperial prelates หรือ Reichsprelaten) ที่รวมกันแล้วมีเพียงเสียงเดียวในการออกเสียงในสภานิติบัญญัติของจักรวรรดิ (Reichstag) ต่อมาในปี..
ดู เครือราชรัฐออสเตรียและอิมพีเรียลแอบบีย์
จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
ักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (ละติน: Sacrum Imperium Romanum, Heiliges Römisches Reich) เป็นอภิมหาอำนาจในอดีต เป็นจักรวรรดิซึ่งประกอบด้วยดินแดนหลากเชื้อชาติในยุโรปกลาง ก่อกำเนิดขึ้นในสมัยกลางตอนต้นและล่มสลายลงในปี..
ดู เครือราชรัฐออสเตรียและจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
เสรีนครจักรวรรดิ
รีนครของจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ค.ศ. 1648 เสรีนครจักรวรรดิ (Free imperial city; freie Reichsstadt) หมายถึงนครที่ปกครองโดยจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์โดยตรง ในขณะที่เมืองอื่น ๆ ที่มิใช่เสรีนครจะถูกปกครองโดย เฟือสท์ ที่อาจจะเป็นดยุก หรือเจ้าชายมุขนายก (prince-bishop) นอกจากนั้น เสรีนครยังมีตัวแทนในสภาไรช์ของจักรวรรดิอีกด้วย นอกจากนั้นก็ยังมีความแตกต่างระหว่าง "จักรพรรดินคร" (Reichsstädte) กับ "เสรีนคร" (freie Städte) เสรีนครคือนครที่เดิมปกครองโดยเจ้าชายมุขนายก แต่ต่อมาได้รับอิสระจากการปกครองของบิชอปช่วงกลางสมัยกลาง (High Middle Ages) เมืองเหล่านี้ก็ได้แก่ บาเซิล (ค.ศ.
ดู เครือราชรัฐออสเตรียและเสรีนครจักรวรรดิ
เครือราชรัฐ
แผนที่เครือราชรัฐ ค.ศ. 1512 ดินแดนที่ไม่อยู่ในกลุ่มเป็นสีขาว เครือราชรัฐ หรือ เครือรัฐของจักรวรรดิ (Reichskreis ไรช์สไคร์ส) หมายถึงกลุ่มรัฐในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อช่วยในการจัดระบบบริหารของราชสภา, เพื่อเป็นการจัดกลุ่มที่มีความเหมาะสมในการใช้ระบบการป้องกันทางทหารร่วมกัน และในการเก็บภาษีของหลวง นอกจากนั้นก็เป็นการจัดระบบภายใน “ระบบศาลหลวงแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์” (Reichskammergericht) ด้วย แต่ละเครือราชรัฐมี "สภาเครือราชรัฐ" (Kreistag) แต่สมาชิกของสภาเครือราชรัฐเพียงบางคนเท่านั้นที่เป็นสมาชิกของ “ราชสภา”.
ดู เครือราชรัฐออสเตรียและเครือราชรัฐ
ดูเพิ่มเติม
กลุ่มราชรัฐของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
- เครือราชรัฐ
- เครือราชรัฐชวาเบีย
- เครือราชรัฐนีเดอร์ซัคเซิน
- เครือราชรัฐนีเดอร์ไรน์-เว็สท์ฟาเลิน
- เครือราชรัฐบาวาเรีย
- เครือราชรัฐบูร์กอญ
- เครือราชรัฐฟรังโกเนีย
- เครือราชรัฐออสเตรีย
- เครือราชรัฐแห่งแม่น้ำไรน์
- เครือราชรัฐโอเบอร์ซัคเซิน
- เครือราชรัฐโอเบอร์ไรน์
กลุ่มออสเตรีย
- ดัชชีคารินเทีย
- ดัชชีสติเรีย
- ราชรัฐมุขนายกบริกเซิน
- อาร์ชดัชชีออสเตรีย
- เครือราชรัฐออสเตรีย
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Austrian Circleกลุ่มออสเตรียสหราชรัฐออสเตรีย