โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เกลฟ์และกิเบลลิเน

ดัชนี เกลฟ์และกิเบลลิเน

ทธการเลญาโนซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสงครามเกลฟ์และกิเบลลิเน เกลฟ์ และ กิเบลลิเน (Guelphs and Ghibellines) เป็นฝักฝ่ายทางการเมืองทางตอนกลางและตอนเหนือของอิตาลีผู้หนุนหลังฝ่ายพระสันตะปาปาและสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ตามลำดับระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 12 จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 13 ความขัดแย้งกันทางอำนาจระหว่างสถาบันพระสันตะปาปาและจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ก่อตัวขึ้นจากปัญหาข้อขัดแย้งในอำนาจการแต่งตั้งสงฆ์ของคริสต์ศตวรรษที่ 11.

44 ความสัมพันธ์: ชวาเบินฟลอเรนซ์พระสันตะปาปาพระเจ้าชาร์ลที่ 8 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าการ์โลที่ 1 แห่งเนเปิลส์กลุ่มแยกการเมืองการตัดขาดจากศาสนาภาษาอิตาลีมันโตวามิลานรัฐบาวาเรียรัฐสันตะปาปารัฐนักรบครูเสดราชวงศ์โฮเอินชเตาเฟินลุกกาสมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 8สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 12สงครามอิตาลีสงครามครูเสดครั้งที่ 6จักรพรรดิฟรีดริชที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิออทโทที่ 4 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิไฮน์ริชที่ 7 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ข้อขัดแย้งเรื่องการสถาปนาสมณศักดิ์ดันเต อาลีกีเอรีตระกูลเวล์ฟตราอาร์มซีเอนาประเทศซีเรียปาโดวาปิซาปีเอนซาแบร์กาโมแฟร์ราราโบโลญญาโทษต้องห้ามเบรชชาเกลฟ์และกิเบลลิเนเวโรนาเจนัว

ชวาเบิน

วาเบิน (Schwaben) หรือชื่อในภาษาอังกฤษคือ สเวเบีย (Swabia) เป็นหนึ่งในเจ็ดส่วนภูมิภาค (เรกีรุงชเบเซิร์ค) ในรัฐบาวาเรีย ประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของบาวาเรียติดกับพรมแดนรัฐบาเดิน-เวือร์ทเทิมแบร์ค ทางทิศใต้ติดกับพรมแดนประเทศออสเตรีย ดินแดนนี้ในอดีตมีดยุกจากราชวงศ์โฮเอ็นชเตาเฟินเป็นผู้ปกครอง ต่อมาถูกผนวกเข้ากับรัฐบาวาเรียใน..

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและชวาเบิน · ดูเพิ่มเติม »

ฟลอเรนซ์

ฟลอเรนซ์ (Florence) หรือ ฟีเรนเซ (Firenze) เป็นเมืองหลวงของแคว้นทัสกานีและมณฑลฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ระหว่าง..

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและฟลอเรนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระสันตะปาปา

หลุมฝังพระศพพระสันตะปาปาในมหาวิหารนักบุญเปโตร พระสันตะปาปา (Santo Papa; Pope) หมายถึง มุขนายกแห่งคริสตจักรกรุงโรม (Bishop of the Church of Rome) และผู้นำคริสตจักรโรมันคาทอลิกทั่วโลก คริสตจักรนี้ถือว่าพระสันตะปาปาเป็นผู้สืบตำแหน่งจากนักบุญซีโมนเปโตรอัครทูตของพระเยซู สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิสเป็นพระสันตะปาปาพระองค์ปัจจุบันตามการประชุมเลือกตั้งพระสันตะปาปาในวันที่ 13 มีนาคม..

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและพระสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาร์ลที่ 8 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าชาร์ลส์ที่ 8 แห่งฝรั่งเศส (Charles VIII of France หรือรู้จักกันในภาษาCharles VIII l'Affable) (30 มิถุนายน ค.ศ. 1470 - 7 เมษายน ค.ศ. 1498) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัวส์ ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 30 สิงหาคม ค.ศ. 1483 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 7 เมษายน ค.ศ. 1498 รัชสมัยของพระองค์เป็นรัชสมัยของการรณรงค์ในสงครามอิตาลีซึ่งเป็นสงครามใหญ่ของต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 8 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน ค.ศ. 1470 ที่วังอังบัวส์ในประเทศฝรั่งเศส พระองค์เป็นพระราชโอรสองค์เดียวที่รอดมาได้ในพระเจ้าหลุยส์ที่ 11 แห่งฝรั่งเศส และ พระราชินีชาร์ล็อตต์ พระเจ้าชาร์ลส์เสด็จขึ้นครองราชย์ต่อจากพระราชบิดาเมื่อพระชนมายุได้ 13 พระสุขภาพพลานามัยของพระองค์ไม่สมบูรณ์นักและทรงได้รับการบรรยายว่าไม่มีพระลักษณะนิสัยที่เหมาะสมกับการปกครองแผ่นดิน ระหว่างที่ยังทรงพระเยาว์หน้าที่การเป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดินแทนพระองค์ตกไปเป็นของพระเชษฐภคินีแอนน์แห่งฝรั่งเศส ดัชเชสแห่งบูร์บองผู้ทรงเป็นสตรีผู้มีความเฉลียวฉลาดและความสามารถที่ทรงได้รับการบรรยายโดยพระราชบิดาว่าทรงเป็น “ผู้ที่บ้าน้อยที่สุดในฝรั่งเศส” แอนน์แห่งฝรั่งเศสและสามีปิแยร์ที่ 2 ดยุคแห่งบูร์บองทำหน้าที่เป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดินแทนพระองค์จนปี..

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและพระเจ้าชาร์ลที่ 8 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าการ์โลที่ 1 แห่งเนเปิลส์

มเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งซิซิลี หรือ ชาร์ลส์แห่งอองชู (Charles Ier de Sicile, Charles I of Sicily หรือ Charles of Anjou) (21 มีนาคม ค.ศ. 1226 – 7 มกราคม ค.ศ. 1285) สมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งซิซิลีเป็นพระราชโอรสองค์เล็กของพระเจ้าหลุยส์ที่ 8 แห่งฝรั่งเศสและบล็องช์แห่งคาสตีล สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส และเป็นพระอนุชาในพระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส พระเจ้าชาร์ลส์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรซิซิลี ผู้ได้ราชบัลลังก์มาจากการพิชิตได้ในปี ค.ศ. 1226 หลังจากที่ได้รับหนังสือประกาศอภิสิทธิ์จากสมเด็จพระสันตะปาปามตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและพระเจ้าการ์โลที่ 1 แห่งเนเปิลส์ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มแยกการเมือง

กลุ่มแยกการเมือง (political faction) เป็นกลุ่มปัจเจก เช่น พรรคการเมือง สหภาพการค้า หรือกลุ่มอื่นที่มีความมุ่งหมายทางการเมืองร่วมกัน กลุ่มแยกหรือพรรคการเมืองอาจมีกลุ่มแยกย่อยที่แตกเป็นส่วน ๆ "พรรคในพรรค" ซึ่งอาจเรียกว่าเป็นกลุ่มอำนาจ หรือกลุ่มออกเสียง สมาชิกของกลุ่มแยกจับมือกันเป็นวิธีบรรลุเป้าหมายเหล่านี้และผลักดันวาระและฐานะของพวกตนในองค์การหนึ่ง กลุ่มแยกไม่จำกัดอยู่เฉพาะพรรคการเมืองเท่านั้น กลุ่มแยกสามารถและมักเกิดในกลุ่มใดก็ได้ที่มีเป้าหมายหรือความมุ่งหมายทางการเมืองบางอย่าง บางทีคำ "faction" ในภาษาอังกฤษยังใช้เป็นไวพจน์ของพรรคการเมืองได้ในระดับหนึ่ง แต่ "ด้วยความหมายน่าอดสู โดยสื่อการกล่าวหาว่ามีจุดหมายปลายทางเห็นแก่ตัวหรือก่อภัย หรือมีวิธีที่ไม่สงบหรือไม่สำนึกผิดชอบ" ตามพจนานุกรมภาษาอังกฤษอ็อกซ์ฟอร์ด หมวดหมู่:การเมือง หมวดหมู่:กลุ่มแยกพรรคการเมือง.

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและกลุ่มแยกการเมือง · ดูเพิ่มเติม »

การตัดขาดจากศาสนา

การตัดขาดจากศาสนาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเททพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 204 (excommunication) คือการตำหนิโทษทางศาสนา เพื่อขับไล่บุคคลหนึ่งให้พ้นจากการเป็นสมาชิกของศาสนจักร คำว่า excommunication หมายถึง การไม่ร่วมสมานฉันท์ (communion).

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและการตัดขาดจากศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอิตาลี

ษาอิตาลี (Italiano หรือ lingua italiana; Italian) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาโรมานซ์,โดยส่วนใหญ่ภาษาอิตาลีเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาละตินมากที่สุดในภาษากลุ่มโรมานซ์ด้วยกัน, ภาษาอิตาลีเป็นภาษาทางการในอิตาลี, สวิตเซอร์แลนด์, ซานมารีโน, นครรัฐวาติกัน และอิสเตรียตะวันตก (ในสโลวีเนียและโครเอเชีย), เคยมีสถานะเป็นภาษาทางการของแอลเบเนีย, มอลตา และ โมนาโก ซึ่งมีการพูดภาษานี้กันอย่างกว้างขวางรวมทั้งอดีตแอฟริกาตะวันออกของอิตาลีและแอฟริกาเหนือของอิตาลี (ปัจจุบันคือประเทศลิเบีย), มีการพูดภาษาอิตาลีในกลุ่มผู้อพยพชาวอิตาเลียนขนาดใหญ่ในอเมริกาและออสเตรเลีย, มีสถานะเป็นภาษาทางการของชนกลุ่มน้อยในบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, สโลวีเนีย, โครเอเชีย และ โรมาเนีย left.

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและภาษาอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

มันโตวา

มันโตวา (Mantova) หรือ แมนชัว (Mantua) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ในแคว้นลอมบาร์เดียในประเทศอิตาลี มันโตวาเป็นเมืองหลวงของจังหวัดมันโตวา มันโตวาถูกโอบรอบสามด้านด้วยทะเลสาบที่ขุดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 12 ที่ได้น้ำจากแม่น้ำมินโชที่มาจากทะเลสาบการ์ดา ทะเลสาบทั้งสามชื่อ ลาโกซูเปรีโอเร (Lago Superiore-ทะเลสาบใหญ่) ลาโกดีเมซโซ (Lago di Mezzo-ทะเลสาบกลาง) และลาโกอินเฟรีโอเร (Lago Inferiore-ทะเลสาบเล็ก) ทะเลสาบปาโจโล (ทะเลสาบที่สี่) เคยเป็นทะเลสาบสุดท้ายที่ล้อมเมืองแต่มาเหือดแห้งไปในคริสต์ศตวรรษที่ 18 มันโตวาได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกในปี..

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและมันโตวา · ดูเพิ่มเติม »

มิลาน

มิลาน (Milan) หรือ มีลาโน (Milano) เป็นเมืองหลักของแคว้นลอมบาร์เดียและเป็นเมืองสำคัญในภาคเหนือของประเทศอิตาลี ตั้งอยู่บริเวณที่ราบลอมบาร์ดี (Lombardy) เมืองมิลานมีประชากรประมาณ 1,308,500 คน (ข้อมูลปี พ.ศ. 2547) โดยถ้ารวมบริเวณรอบนอกและเขตปริมณฑลจะมีประมาณ 4 ล้านคน ซึ่งเรียกเขตทั้งหมดว่า ลากรันเดมีลาโน (La Grande Milano) มิลานมีพื้นที่ประมาณ 1,982 ตร.กม.

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและมิลาน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาวาเรีย

ตการปกครองในรัฐบาวาเรีย บาวาเรีย (Bavaria) หรือ ไบเอิร์น (Bayern) เป็นรัฐที่มีอาณาเขตใหญ่ที่สุดในประเทศเยอรมนี อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ มีประชากรประมาณ 12.5 ล้านคน มีพื้นที่ประมาณ 70,548 ตารางกิโลเมตร เมืองหลวงคือเมืองมิวนิก เชื้อสายประชากรเป็นชาวบาวาเรีย 6.4 ล้านคน, ฟรังโคเนีย 4.1 ล้านคน, และสวาเบีย 1.8 ล้านคน รัฐบาวาเรียเป็นหนึ่งในรัฐที่เก่าแก่ที่สุดรัฐหนึ่งในยุโรป ก่อตั้งขึ้นเป็นดัชชีในกลางคริสศตวรรษที่ 17 ดยุกแห่งบาวาเรียเป็นหนึ่งในผู้มีสิทธิสรรเจ้า (Prince-elector) แต่งตั้งจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ในช่วง ค.ศ. 1806 - ค.ศ. 1918 บาวาเรียมีสถานะเป็นราชอาณาจักรบาวาเรียต่อจากนั้นมากลายเป็นรัฐอิสระ (สาธารณรัฐ).

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและรัฐบาวาเรีย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสันตะปาปา

รัฐสันตะปาปา (Papal States; Pontifical States; Stati Pontificii) หรือ รัฐคริสตจักร (State(s) of the Church; Stato Ecclesiastico; Stato della Chiesa; Stati della Chiesa') “รัฐสันตะปาปา” เป็นหนึ่งในรัฐทางประวัติศาสตร์ของอิตาลีตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 6 จนกระทั่งอิตาลีรวมตัวกันเป็นประเทศเดียวกันในปี ค.ศ. 1861 โดยการนำของราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย (หลังจากนั้นรัฐพระสันตะปาปาก็ยังมีอยู่จนปี ค.ศ. 1870) รัฐสันตะปาปาเป็นดินแดนที่อยู่ภายใต้การปกครองโดยตรงของพระสันตะปาปา ในสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดมีอาณาบริเวณที่ครอบคลุมบริเวณประเทศอิตาลีสมัยใหม่ที่รวมทั้งโรมันยา, มาร์เก, อุมเบรีย และลาซีโอ อำนาจในการปกครองนี้เรียกว่า อำนาจการปกครองของพระสันตะปาปา (Temporal power) ที่ตรงข้ามกับอำนาจทางศาสนา “Papal States” มักจะเป็นคำที่นิยมมากกว่า ส่วน “Papal State” มักจะใช้กับนครรัฐวาติกันซึ่งเป็นอาณาบริเวณภายในตัวกรุงโรม นครรัฐวาติกันก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและรัฐสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐนักรบครูเสด

ตะวันออกใกล้ในปี ค.ศ. 1135 โดยมีอาณาจักรครูเสดเป็นสีเขียว อานาโตเลียและอาณาจักรครูเสด ราว ค.ศ. 1140 รัฐนักรบครูเสด (Crusader states) คือกลุ่มรัฐเจ้าขุนมูลนายที่นักรบครูเสดชาวยุโรปตะวันตกตั้งขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 12 - 13 ในอานาโตเลีย กรีซ และแผ่นดินศักดิ์สิทธิ์ (อิสราเอลโบราณและปัจจุบัน และในบริเวณปาเลสไตน์) แต่ในที่สุดอำนาจของอิสลามในตะวันออกกลางก็พิชิตรัฐเหล่านี้ได้หมด นอกจากนั้นรัฐนักรบครูเสดก็ยังหมายถึงดินแดนอื่นที่คริสตจักรสมัยกลางได้มา (ส่วนใหญ่เป็นรัฐเล็กและเพียงชั่วระยะเวลาอันสั้น) เพื่อป้องกันชาวมุสลิมและดินแดนของผู้นอกศาสนาอื่น ๆ ด้ว.

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและรัฐนักรบครูเสด · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โฮเอินชเตาเฟิน

อินชเตาเฟิน (Hohenstaufen) เป็นราชวงศ์หรือตระกูลของกษัตริย์เยอรมันที่รุ่งเรืองระหว่าง ค.ศ. 1138 จนถึง ค.ศ. 1254 ในบรรดากษัตริย์จากราชวงศ์โฮเอินชเตาเฟินสามพระองค์ได้รับการราชาภิเษกเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ในปี..

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและราชวงศ์โฮเอินชเตาเฟิน · ดูเพิ่มเติม »

ลุกกา

ลูคคา (Lucca) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ในแคว้นตอสคานาทางตอนกลางของประเทศอิตาลี ตัวเมืองตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำแซร์คิโอในบริเวณที่ราบที่ไม่ไกลจากทะเลลิกูเรียน ลูคคาเป็นเมืองหลวงของจังหวัดลูคคา เป็นเมืองที่ยังมีกำแพงเมืองจากยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาล้อมรอบ และลักษณะศูนย์กลางของตัวเมืองยังไม่เปลี่ยนแปลงเท่าใดนักจากยุคกลาง.

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและลุกกา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 8

สมเด็จพระสันตะปาปาโบนิเฟสที่ 8 (อังกฤษ: Boniface VIII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1294 ถึง ค.ศ. 1303 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1773 บโนิเฟสที่ 8 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นลัตซีโย.

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและสมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 12

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 12 (อังกฤษ: Benedict XII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1334 ถึง ค.ศ. 1342 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ทศวรรษ 1280 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 13 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 14 เบเนดิกต์ที่ 12 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นมีดี-ปีเรเน.

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 12 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอิตาลี

งครามอิตาลี หรือ มหาสงครามอิตาลี (Italian Wars หรือ Great Italian Wars หรือ Great Wars of Italy) เป็นสงครามที่เกิดขึ้นต่อเนื่องกันระหว่างปี ค.ศ. 1494 จนถึงปี ค.ศ. 1559 ผู้เข้าร่วมสงครามในช่วงต่างๆ ก็ได้แก่นครรัฐอิตาลี (Italian city-states) ต่างๆ ส่วนใหญ่, อาณาจักรพระสันตะปาปา รัฐสำคัญต่างๆ ในยุโรปตะวันตกที่รวมทั้งฝรั่งเศส, สเปน, จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์, ราชอาณาจักรอังกฤษ และ ราชอาณาจักรสกอตแลนด์ นอกจากนั้นก็ยังรวมจักรวรรดิออตโตมัน สาเหตุเบื้องต้นของสงครามเกิดจากความขัดแย้งระหว่างตระกูลต่างๆ ในการปกครองอาณาจักรดยุคแห่งมิลาน และ ราชอาณาจักรเนเปิลส์ แต่ความขัดแย้งก็บานปลายอย่างรวดเร็วจนกลายไปเป็นความขัดแย้งโดยทั่วไปในอำนาจการปกครองดินแดนต่างของผู้เกี่ยวข้อง และทวีความรุนแรงและความยุ่งเหยิงมากขึ้นฝ่ายต่างๆ ที่เข้าร่วมทำสัญญาสร้างพันธมิตรระหว่างกัน, ละเมิดข้อตกลงการเป็นพันธมิตร, สร้างพันธมิตรซ้อน และ เปลี่ยนข้าง ที่เกิดขึ้นอย่างสม่ำเสมอ.

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและสงครามอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

สงครามครูเสดครั้งที่ 6

ระจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2ทรงพบกับอัล-คามิล สงครามครูเสดครั้งที่ 6 (Sixth Crusade) (ค.ศ. 1228-ค.ศ. 1229) สงครามครูเสด ครั้งนี้เริ่มขึ้นเพียงเจ็ดปีหลังจากความล้มเหลวของสงครามครูเสดครั้งที่ 5.

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและสงครามครูเสดครั้งที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฟรีดริชที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิฟรีดริชที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หรือจักรพรรดิฟรีดริช บาร์บารอสซา หรือ จักรพรรดิฟรีดริชพระมัสสุแดง (Frederick I, Holy Roman Emperor หรือ Frederick I Barbarossa) (ค.ศ. 1122 - 10 มิถุนายน ค.ศ. 1190) ฟรีดริชทรงได้รับเลือกให้เป็นพระมหากษัตริย์แห่งเยอรมนีเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1152 และทรงเข้าพระราชพิธีราชาภิเษกที่อาเคินเมื่อวันที่ 9 มีนาคม; ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งอิตาลีในพิธีราชาภิเษกที่พาเวียใน ค.ศ. 1154 และในที่สุดก็ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์โดยทรงได้รับการสวมมงกุฎจากสมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 4 เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน ค.ศ. 1155 ต่อมาเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน ค.ศ. 1178 พระองค์ก็ทรงได้รับการสมมงกุฎให้เป็นพระมหากษัตริย์แห่งเบอร์กันดี ก่อนที่จะได้ทรงได้รับเลือกให้เป็นพระมหากษัตริย์แห่งเยอรมนีฟรีดริชทรงเป็นดยุกแห่งชวาเบีย ระหว่างปี..

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและจักรพรรดิฟรีดริชที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันศักดิ์สิทธิ์ จักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Federico II del Sacro Romano Impero; Friedrich II 26 ธันวาคม พ.ศ. 1737–13 ธันวาคม พ.ศ. 1793) เสด็จพระราชสมภพที่นครเจซี ประเทศอิตาลี เป็นพระราชนัดดาของจักรพรรดิฟรีดิชที่ 1 ขึ้นครองราชย์แทนจักรพรรดิไฮน์ริชที่ 6 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ เมื่อ พ.ศ. 1763 และทรงเป็นจักรพรรดิองค์สุดท้ายของราชวงศ์โฮเฮนสเตาเฟ็น ทรงเป็นกษัตริย์แห่งซิชิลีเมื่อ พ.ศ. 1741 และกษัตริย์แห่งเยอรมนีเมื่อ พ.ศ. 1755 จักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 ได้รับราชาภิเษกเป็นจักรพรรดิโรมันศักดิ์สิทธิ์โดยพระสันตะปาปา เมื่อ พ.ศ. 1743 พระองค์มีความปรารถนาสูงยิ่งใคร่ที่จะผนึกอำนาจจักรวรรดิในอิตาลีให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันโดยอาศัยอิทธิพลของพระสันตะปาปา พระองค์ได้อุทิศพระวรกายเป็นอย่างมากในความพยายามขยายอาณาเขตอิตาลี แต่แผนของพระองค์ทำให้เมืองต่างๆ ที่ขึ้นอยู่กับแคว้นลอมบาร์ดต่อต้านไม่พอใจ รวมทั้งองค์พระสันตปาปาด้วย เมื่อทรงเป็นผู้นำทัพในสงครามครูเสดครั้งที่ 6 เมื่อ พ.ศ. 1771 (ค.ศ. 1228) พระองค์ทรงยึดเมืองเยรูซาเลมและตั้งตนขึ้นเป็นกษัตริย์แห่งเยรูซาเลมเมื่อ พ.ศ. 1772 เมื่อเสด็จกลับถึงอิตาลีจากการสงคราม พระองค์กลับต้องมาต่อสู้ขัดแย้งกับองค์พระสันตะปาปาจนสิ้นพระชนม์ จักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 เสด็จสวรรคตลงเมื่อปี..

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิมักซีมีเลียน(หรือมักซิมิเลียน) ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Maximilian I, Kaiser des Heiligen Römischen Reiches) (เกิด 22 มีนาคม ค.ศ. 1459 - ตาย12 มกราคม ค.ศ. 1519) ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1508 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1519 มักซีมีเลียนทรงปกครองร่วมกับพระราชบิดาระหว่างช่วงสิบปีสุดท้ายของรัชสมัยตั้งแต่ราวปี ค.ศ. 1483 พระองค์ทรงขยายอิทธิพลของราชวงศ์ฮับส์บูร์กทั้งในด้านการเสกสมรสและการสงครามWorld Book Encyclopedia, Field Enterprises Educational Corporation, 1976.

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและจักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิออทโทที่ 4 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

มเด็จพระจักรพรรดิออตโตที่ 4 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Otto IV, Holy Roman Emperor) (ค.ศ. 1175 หรือ ค.ศ. 1176 - 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1218) ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์แห่งราชวงศ์เวลฟ ระหว่างปี ค.ศ. 1198 แต่ถูกปลดจากตำแหน่งในปี ค.ศ. 1215 ออตโตเป็นพระราชโอรสในไฮน์ริคที่ 12 ดยุคแห่งบาวาเรีย และ มาทิลดา แพลนทาเจเน็ท เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1218.

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและจักรพรรดิออทโทที่ 4 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิคาร์ล (ชาลส์) ที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Karl V; Carlos I or Carlos V; Charles V, 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2043 - 21 กันยายน พ.ศ. 2101) สมัยราชวงศ์ฮับส์บูร์กในสเปนทรงครองราชย์ในนามของพระเจ้าชาร์ลที่ 1 แห่งสเปน เป็นประมุขแห่งดัชชีเบอร์กันดี (ในปี พ.ศ. 2049 - 2098) กษัตริย์แห่งสเปน (พ.ศ. 2059 - 2099) พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรเนเปิลส์และราชอาณาจักรซิซิลี (พ.ศ. 2059 - 2097) อาร์ชดยุกแห่งออสเตรีย (พ.ศ. 2062 - 2064) และจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (พ.ศ. 2073 - 2099) พระองค์เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าเฟลิเปที่ 1 แห่งคาสตีล (Philip I of Castile, พ.ศ. 2021-พ.ศ. 2049) และพระนางโจแอนนา (Joanna of Castile, พ.ศ. 2022 - พ.ศ. 2098) พระอัยกาคือพระเจ้าเฟร์นันโดที่ 2 แห่งอารากอนและจักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ส่วนพระอัยกีคือสมเด็จพระราชินีนาถอิซาเบลลาที่ 1 แห่งคาสตีลและแมรีแห่งเบอร์กันดี พระปิตุจฉาคือแคเธอรีนแห่งอารากอน สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษพระมเหสีองค์แรกในพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ.

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Kaiser des Heiligen Römischen Reiches; Emperor of the Holy Roman Empire) หรือจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Holy Roman Emperor) หรือจักรพรรดิโรมัน-เยอรมัน (Römisch-Deutscher Kaiser) เป็นคำที่นักประวัติศาสตร์ใช้หมายถึงประมุขรัฐในสมัยกลางที่พระสันตะปาปาทรงแต่งตั้งให้เป็น "จักรพรรดิแห่งชาวโรมัน" ต่อมาตำแหน่งนี้มาจากการเลือกตั้งแต่ยังคงต้องรับราชาภิเษกจากพระสันตะปาปาอยู่ จนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมาจึงหมายถึงผู้ปกครองจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ซึ่งเป็นมีอาณาเขตครอบคลุมดินแดนยุโรปกลาง.

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิไฮน์ริชที่ 7 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิไฮน์ริชที่ 7 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Henry VII, Holy Roman EmperorBritannica online encyclopedia article on Henry VII (Holy Roman emperor)) (ราว ค.ศ. 1275 หรือ ค.ศ. 1279 - 24 สิงหาคม ค.ศ. 1313) ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์แห่งราชวงศ์ลักเซมเบิร์กผู้ทรงครองราชบัลลังก์ระหว่างปี ค.ศ. 1312 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 1313.

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและจักรพรรดิไฮน์ริชที่ 7 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (ละติน: Sacrum Imperium Romanum, Heiliges Römisches Reich) เป็นอภิมหาอำนาจในอดีต เป็นจักรวรรดิซึ่งประกอบด้วยดินแดนหลากเชื้อชาติในยุโรปกลาง ก่อกำเนิดขึ้นในสมัยกลางตอนต้นและล่มสลายลงในปี..

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ข้อขัดแย้งเรื่องการสถาปนาสมณศักดิ์

กษัตริย์สมัยกลางแต่งตั้งบิชอป ข้อขัดแย้งเรื่องการสถาปนาสมณศักดิ์ (Investiture Controversy หรือ Investiture Contest) เป็นความขัดแย้งครั้งสำคัญระหว่างคริสตจักรกับรัฐในยุโรปสมัยกลางที่เกิดขึ้นช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 11 และ 12 พระสันตะปาปาหลายพระองค์ก็เริ่มท้าทายอำนาจของพระมหากษัตริยุโรปในเรื่องการแต่งตั้งและสถาปนาสมณศักดิ์นักบวช เช่น มุขนายก และอธิการอาราม ความขัดแย้งเริ่มขึ้นในปี..

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและข้อขัดแย้งเรื่องการสถาปนาสมณศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ดันเต อาลีกีเอรี

ูรันเต เดกลี อาลีกีเอรี หรือดันเต อาลีกีเอรี หรือเรียกสั้น ๆ ว่าดันเต (Durante degli Alighieri; Dante Alighieri) (ราวกลางเดือนพฤษภาคมถึงเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1265 - 14 กันยายน ค.ศ. 1321) ดันเต อาลีกีเอรีเป็นรัฐบุรุษ กวี และนักภาษาศาสตร์คนสำคัญของฟลอเรนซ์ในคริสต์ศตวรรษที่ 13 และ 14 ในยุคกลาง งานชิ้นที่สำคัญที่สุดคือ “ดีวีนากอมเมเดีย” (Divina Commedia) ที่เดิมชื่อ “Commedia” แต่ต่อมาเรียก “Divina” โดยโจวันนี บอกกัชโช และในที่สุดก็กลายเป็น “Divina Commedia” ซึ่งถือว่าเป็นกวีนิพนธ์ชิ้นเอกของภาษาอิตาลีและของโลก ดันเตได้รับการขนานนามในอิตาลีว่า “il Sommo Poeta” หรือ “มหากวี” และได้ชื่อว่าเป็น “บิดาแห่งภาษาอิตาลี” ดานเต เปตราก และโจวันนี บอกกัชโช รู้จักรวมกันว่า “สามมงกุฏ” (the three fountains หรือ the three crowns) บอกกัชโชเป็นคนแรกที่เขียนชีวประวัติของดันเตใน “ศาสตรนิพนธ์ในการสรรเสริญดันเต” (Trattatello in laude di Dante).

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและดันเต อาลีกีเอรี · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลเวล์ฟ

ตระกูลเวลฟ หรือ ตระกูลเกลฟ (House of Welf หรือ House of Ghelf) เป็นราชตระกูลยุโรปที่มีสมาชิกหลายคนที่ได้เป็นพระมหากษัตริย์เยอรมนีและสหราชอาณาจักรระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 11 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตระกูลเวลฟเป็นสาขาเก่าของตระกูลเอสเต ผู้ที่มาจากลอมบาร์ดีในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ซึ่งทำให้บางครั้งจึงได้ชื่อว่า "ตระกูลเวลฟ-เอสเต" ผู้ก่อตั้งตระกูลคือเวลฟที่ 1 ดยุคแห่งบาวาเรีย ผู้ได้รับอสังหาริมทรัพย์จากเวลฟ ดยุคแห่งคารินเธียลุงทางแม่ของตระกูลเวลฟเก่ามาเสียชีวิตในปี..

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและตระกูลเวล์ฟ · ดูเพิ่มเติม »

ตราอาร์ม

ตราแผ่นดินของหลายประเทศมีลักษณะเป็นตราอาร์ม ดังเช่นภาพตราแผ่นดินของประเทศในสหภาพยุโรป ตราอาร์ม (Coat of arms, เรียกอย่างเฉพาะเจาะจงว่า armorial achievement หรือ armorial bearings, เรียกอย่างย่อว่า arms) ในธรรมเนียมของทวีปยุโรป เป็นสัญลักษณ์ซึ่งออกแบบขึ้นสำหรับบุคคลหรือคณะบุคคล อันมีการดัดแปลงใช้ในหลายลักษณะ พัฒนามาจากตราประจำตัวของอัศวินในยุโรปสมัยโบราณเพื่อจำแนกพวกของตนออกจากพวกของศัตรู สามัญชนในยุโรปภาคพื้นทวีปอาจใช้ตราอาร์มเป็นสัญลักษณ์ได้เช่นกัน แต่เรียกชื่อชนิดตราต่างออกไปว่า Burgher arms ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ของประเทศไทย ได้ให้นิยามของคำว่า "อาร์ม" ไว้ดังนี้ ตราอาร์มนั้นต่างจากตราประทับ (seal) และตราสัญลักษณ์ (emblem) ตรงที่มีการให้คำอธิบายอย่างเป็นทางการโดยมีศัพท์เฉพาะของตนเอง ซึ่งเรียกโดยรวมในภาษาอังกฤษว่า Blazon หรือเทียบเป็นภาษาไทยว่า นิยามของตรา ในยุคคริสต์ศตวรรษที่ 21 ตราอาร์มได้มีการนำไปใช้กับสถาบันต่างๆ เช่นมหาวิทยาลัย ตราของแต่ละแห่งจะได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายและปกป้องสิทธิการใช้งาน การใช้ตราดังว่ามานี้ยังรวมถึงการใช้เป็นเครื่องหมายราชการประจำชาติหลายประเทศ กล่าวอีกนัยหนึ่งคือใช้เป็น "ตราแผ่นดิน" นั่นเอง ศิลปะในการออกแบบ การแสดงให้ปรากฏ การอธิบาย และการบันทึกตราอาร์ม เรียกว่า heraldry อันอาจแปลเป็นภาษาไทยตามสำนวนของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ได้ว่า "มุทราศาสตร์".

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและตราอาร์ม · ดูเพิ่มเติม »

ซีเอนา

มืองเซียนายามค่ำ เซียนา (Siena) อยู่ในแคว้นตอสคานา ประเทศอิตาลี และเป็นเมืองหลวงของจังหวัดเซียนา ในยุคกลางเซียนาเป็นเมืองคู่แข่งของฟลอเรนซ์ที่มีชื่อเสียงทางศิลปะและสถาปัตยกรรม ใจกลางเมืองเก่าของเซียนาได้รับเลือกโดยองค์การยูเนสโกให้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก เมื่อปี..

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและซีเอนา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซีเรีย

ประเทศซีเรีย (Syria; سورية ซูริยา) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย (Syrian Arab Republic; الجمهورية العربية السورية) เป็นประเทศในเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ มีพรมแดนทิศตะวันตกจดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทิศเหนือจดประเทศตุรกี ทิศตะวันออกจดประเทศอิรัก ทิศใต้จดประเทศจอร์แดน และทิศตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศอิสราเอล กรุงดามัสกัส เมืองหลวง เป็นนครที่มีผู้อยู่อาศัยต่อเนื่องที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ประเทศซีเรียเป็นที่ราบอุดมสมบูรณ์ ภูเขาสูงและทะเลทราย มีประชากรกลุ่มชาติพันธุ์และศาสนาหลากหลาย ส่วนมากเป็นชาวอาหรับ ซึ่งรวมอลาวียะห์ ดรูซ มุสลิมซุนนีย์และคริสต์ศาสนิกชน กลุ่มชาติพันธุ์อื่น ได้แก่ ชาวอาร์มีเนีย อัสซีเรีย เคิร์ดและเติร์ก ชาวอาหรับซุนนีย์เป็นกลุ่มประชากรใหญ่ที่สุดในประเทศซีเรีย ในภาษาอังกฤษ เดิมชื่อ "ซีเรีย" สมนัยกับเลแวนต์ (ภาษาอาหรับว่า al-Sham) ขณะที่รัฐสมัยใหม่ครอบคลุมที่ตั้งของราชอาณาจักรและจักรวรรดิโบราณหลายแห่ง รวมถึงอารยธรรมเอบลา (Ebla) ในสหัสวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาล ในสมัยอิสลาม ดามัสกัสเป็นเมืองหลวงของรัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์ และเมืองเอกในรัฐสุลต่านมัมลุกในอียิปต์ รัฐซีเรียสมัยใหม่สถาปนาขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งโดยเป็นอาณาเขตในอาณัติของฝรั่งเศส และเป็นรัฐอาหรับใหญ่ที่สุดที่กำเนิดขึ้นจากเลแวนต์อาหรับที่เดิมออตโตมันปกครอง ประเทศซีเรียได้รับเอกราชในเดือนเมษายน 2489 เป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภา สมัยหลังได้รับเอกราชมีความวุ่นวาย และกลุ่มรัฐประหารและความพยายามรัฐประหารสะเทือนประเทศในสมัยปี 2492–2514 ระหว่างปี 2501 ถึง 2504 ประเทศซีเรียเข้าร่วมสหภาพช่วงสั้น ๆ กับอียิปต์ ซึ่งสิ้นสุดลงด้วยรัฐประหาร ประเทศซีเรียอยู่ภายใต้กฎหมายฉุกเฉินระหว่างปี 2506 ถึง 2554 ระงับการคุ้มครองพลเมืองส่วนใหญ่ของรัฐธรรมนูญอย่างชะงัด และระบบรัฐบาลถูกพิจารณาว่าไม่เป็นประชาธิปไตย บัชชาร อัลอะซัดเป็นประธานาธิบดีตั้งแต่ปี 2543 สืบทอดจากฮาเฟซ อัลอะซัด บิดา ซึ่งดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2513 ถึง 2543 ประเทศซีเรียเป็นสมาชิกสหประชาชาติและขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด ปัจจุบันถูกระงับสมาชิกภาพจากสันนิบาตอาหรับและองค์การความร่วมมืออิสลาม และระงับตนเองจากสหภาพเพื่อเมดิเตอร์เรเนียน นับแต่เดือนมีนาคม 2554 ประเทศซีเรียเกิดสงครามกลางเมืองในห้วงการก่อการกำเริบ (ถือว่าเป็นผลขยายของอาหรับสปริง) ต่ออะซัดและรัฐบาลพรรคบะอัธ กลุ่มต่อต้านตั้งรัฐบาลทางเลือกขึ้น คือ แนวร่วมแห่งชาติซีเรีย (Syrian National Coalition) ในเดือนมีนาคม 2555 ต่อมา ผู้แทนรัฐบาลนี้ได้รับเชิญให้แทนที่ประเทศซีเรียในสันนิบาตอาหรั.

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและประเทศซีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ปาโดวา

แพดัว (Padua) หรือ ปาโดวา (Padova) เป็นเมืองในแคว้นเวเนโตที่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศอิตาลี แพดัวเป็นเมืองหลวงของจังหวัดแพดัว และเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและการโทรคมนาคมของบริเวณนี้ แพดัวมีประชากรทั้งสิ้นประมาณ 212,500 คน บางครั้งแพดัวก็รวมเป็นส่วนหนึ่งของเวนิส ภายในปริมณฑลแพดัว-เวนิส ปริมณฑลซึ่งทำให้มีประชากรรวมกันทั้งสิ้นประมาณ 1,600,000 คน.

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและปาโดวา · ดูเพิ่มเติม »

ปิซา

ปิซา (Pisa) เป็นเมืองเอกของจังหวัดปิซา อยู่ในแคว้นตอสคานา ฝั่งแม่น้ำอาร์โน ประเทศอิตาลี อยู่ทางตะวันตกของเมืองฟลอเรนซ์ (ฟีเรนเซ) ประมาณ 100 กิโลเมตร และทางตะวันตกเฉียงเหนือของเมืองเซียนาปรมาณ 130 กิโลเมตร จตุรัสดูโอโมแห่งปิซาได้รับเลือกโดยองค์การยูเนสโกให้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก เมื่อปี ค.ศ. 1987.

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและปิซา · ดูเพิ่มเติม »

ปีเอนซา

ปีเอนซา (Pienza) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ในจังหวัดซีเอนาในแคว้นตอสคานาในประเทศอิตาลี ปีเอนซาตั้งอยู่ในวัลดอร์ชา (Val d'Orcia) ทางตอนกลางของอิตาลีระหว่างเมืองมอนเตปุลชาโนกับมอนตัลชีโน เป็นเมืองสัญลักษณ์ของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาหรือ "touchstone of Renaissance urbanism" ในปี..

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและปีเอนซา · ดูเพิ่มเติม »

แบร์กาโม

แบร์กาโม (Bergamo), แบร์เกม (ลอมบาร์ดตะวันออก: Bèrghem) หรือ แบร์กุม (ลอมบาร์ดตะวันตก: Bergum) เป็นเมืองในแคว้นลอมบาร์เดียในประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ราว 40 กิโลเมตรทางตะวันออกเฉียงเหนือของมิลาน แบร์กาโมมีประชากรราว 121,000 คน.

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและแบร์กาโม · ดูเพิ่มเติม »

แฟร์รารา

แฟร์รารา (Ferrara) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ในแคว้นเอมีเลีย-โรมัญญาในประเทศอิตาลี แฟร์ราราเป็นเมืองหลวงของจังหวัดแฟร์รารา แฟร์ราราตั้งอยู่ประมาณ 50 กิโลเมตรทางตะวันออกเฉียงเหนือของโบโลญญาบนฝั่งโปดิโวลาโนซึ่งเป็นแควของแม่น้ำโป ตัวเมืองมีถนนกว้างและวังและคฤหาสน์มากมายจากคริสต์ศตวรรษที่ 14 และ 15 เมื่อเป็นที่ตั้งสำนักของตระกูลเอสเต ความงามและความสำคัญทางวัฒนธรรมของแฟร์ราราทำให้ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกในปี..

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและแฟร์รารา · ดูเพิ่มเติม »

โบโลญญา

ลญญา (Bologna) เป็นเมืองในประเทศอิตาลี เป็นเมืองหลักของแคว้นเอมีเลีย-โรมัญญาในหุบเขาโป ทางตอนเหนือของประเทศอิตาลี โดยตั้งอยู่ระหว่างแม่น้ำโปกับเทือกเขาแอเพนไนน์ นอกจากนี้ ยังมีมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดคือ "Alma Mater Studiorum" ที่ก่อตั้งในปี 1088 โบโลญญายังเป็นเมืองหนึ่งที่พัฒนามากที่สุดในอิตาลี และมักติดอยู่ในอันดับต้น ๆ ของเมือง ในแง่ของคุณภาพชีวิตในอิตาลี จากข้อมูลปี 2006 ติดอยู่อันดับ 5 และอันดับที่ 12 ในปี 2007 จาก 103 เมืองในอิตาลี.

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและโบโลญญา · ดูเพิ่มเติม »

โทษต้องห้าม

ทษต้องห้าม (interdict) ในนิกายโรมันคาทอลิกหมายถึงการตำหนิโทษโดยคริสตจักร โทษต้องห้ามอาจจะประกาศต่อ อาณาจักร ท้องถิ่น หรือ ต่อบุคคล บทประกาศโทษต่อบุคคลจะลงโทษผู้หนึ่งผู้ใดโดยการระบุชื่อ การประกาศโทษต้องห้ามต่ออาณาจักรหรือท้องถิ่นจะเป็นการห้ามเข้าร่วมพิธีศีลศักดิ์สิทธิ์ในคริสตจักรคือจากดินแดนหรืออาณาจักรที่ถูกบังคับโดยบทประกาศ โทษต้องห้ามท้องถิ่นต่ออาณาจักรเทียบเท่ากับการตัดขาดจากศาสนาที่ทำต่อบุคคล ที่จะเป็นการปิดทุกโบสถ์ในดินแดนดังกล่าว และไม่อนุญาตให้มีพิธีศีลศักดิ์สิทธิ์ใด ๆ ที่รวมทั้งการแต่งงาน การสารภาพบาป และการโปรดศีลมหาสนิท ที่ยกเว้นก็จะมีการอนุญาตให้ทำพิธีรับศีลล้างบาปได้ และ การเจิมผู้ป่วย และ การทำศาสนพิธีเนื่องในวันศักดิ์สิทธิ์ทางศาสนา การออกบทประกาศโทษเป็นเครื่องมือที่ใช้โดยพระสันตะปาปาในยุคกลางในการแสดงอิทธิพลต่อประมุขในยุโรป เช่นในกรณีที่สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 3 ทรงออกประกาศโทษต้องห้ามเป็นเวลาห้าปีต่อราชอาณาจักรอังกฤษ ระหว่างปี..

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและโทษต้องห้าม · ดูเพิ่มเติม »

เบรชชา

รชชา (Brescia) เป็นเมืองและเทศบาลในแคว้นลอมบาร์เดีย ทางตอนเหนือของประเทศอิตาลี ตั้งอยู่เชิงเขาแอลป์ มีประชากรราว 197,000 คน เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 2 ของแคว้นลอมบาร์เดีย รองจากเมืองหลวงของแคว้น เมืองมิลาน เมืองนี้เป็นเมืองโบราณของพวกเคลติก เป็นที่ตั้งของอาณานิคมโรมันเมื่อ 27 ปีก่อนคริสต์ศักราช และหลังจากการปกครองของโรมัน ถูกพวกกอททำลาย ต่อมาตกเป็นของแคว้นลอมบาร์ดีใน..

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและเบรชชา · ดูเพิ่มเติม »

เกลฟ์และกิเบลลิเน

ทธการเลญาโนซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสงครามเกลฟ์และกิเบลลิเน เกลฟ์ และ กิเบลลิเน (Guelphs and Ghibellines) เป็นฝักฝ่ายทางการเมืองทางตอนกลางและตอนเหนือของอิตาลีผู้หนุนหลังฝ่ายพระสันตะปาปาและสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ตามลำดับระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 12 จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 13 ความขัดแย้งกันทางอำนาจระหว่างสถาบันพระสันตะปาปาและจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ก่อตัวขึ้นจากปัญหาข้อขัดแย้งในอำนาจการแต่งตั้งสงฆ์ของคริสต์ศตวรรษที่ 11.

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและเกลฟ์และกิเบลลิเน · ดูเพิ่มเติม »

เวโรนา

วโรนา (Verona) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ในจังหวัดเวโรนา แคว้นเวเนโตในประเทศอิตาลี เวโรนาเป็นหนึ่งในเจ็ดเมืองหลวงของทางตอนเหนือของอิตาลี เวโรนาเป็นสถานที่ที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวด้วยเหตุที่มีความสำคัญทางศิลปะและวัฒนธรรมที่เห็นได้งานนิทรรศการประจำปีหลายงาน โรงละคร และอุปรากรในโรงละครกลางแจ้งที่สร้างโดยโรมัน เวโรนาเป็นเมืองสำคัญในประวัติศาสตร์และเศรษฐกิจจากตำแหน่งที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ที่ตั้งอยู่ตรงโค้งของแม่น้ำอดิเจ (Adige River) ไม่ไกลจากทะเลสาบการ์ดา ที่ตั้งนี้ทำให้เกิดน้ำท่วมขึ้นหลายครั้งจนกระทั่ง..

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและเวโรนา · ดูเพิ่มเติม »

เจนัว

นัว (Genoa) หรือ เจโนวา (Genova) เป็นเมืองและเมืองท่าทางทะเลที่สำคัญทางตอนเหนือของประเทศอิตาลี เป็นเมืองหลักของจังหวัดเจนัวและแคว้นลีกูเรีย เมืองมีความหนาแน่นประชากรราว 610,000 คน และบริเวณเมืองมีความหนาแน่นประชากรราว 900,000 คน นอกจากนี้ยังมีชื่อเรียกอีกชื่อว่า Superba ("the Superb one") อันเนื่องมาจากความรุ่งเรืองในอดีต.

ใหม่!!: เกลฟ์และกิเบลลิเนและเจนัว · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

GhibellineGhibellinesGuelfGuelfs and GhibellinesGuelph and GhibellineGuelphsGuelphs and GhibellinesWars of the Guelphs and Ghibellinesกิเบลลิเนสงครามเกลฟ์และกิเบลลิเนเกลฟส์และกิเบลลินีส์เกลฟส์และกิเบลลิเนส์เกลฟ์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »