สารบัญ
16 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2348พ.ศ. 2472พาลัสท์แดร์เรพูบลีคการรวมชาติเยอรมันรอยขูดขีดเขียนรถรางสังคมนิยมอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งรัสเซียจัตุรัสทวีปยุโรปคริสต์ศตวรรษที่ 19ประเทศเยอรมนีประเทศเยอรมนีตะวันออกแม่น้ำชเปรเบอร์ลิน25 ตุลาคม
- จัตุรัสในเบอร์ลิน
- พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 3 แห่งปรัสเซีย
พ.ศ. 2348
ทธศักราช 2348 ตรงกับคริสต์ศักราช 1805 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินจูเลียน.
ดู อเล็กซานเดอร์พลัทซ์และพ.ศ. 2348
พ.ศ. 2472
ทธศักราช 2472 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1929 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู อเล็กซานเดอร์พลัทซ์และพ.ศ. 2472
พาลัสท์แดร์เรพูบลีค
ลัสท์แดร์เรพูบลีค (Palast der Republik; ทำเนียบแห่งสาธารณรัฐ) เป็นอดีตอาคารรัฐสภาของ สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี (หรือเยอรมนีตะวันออก) เป็นที่ประชุมหลักของ Volkskammer (สภาประชาชน) และ พรรคเอกภาพสังคมนิยมเยอรมนี พาลัสท์แดร์เรพูบลีคตั้งอยู่ที่ Schlossplatz และ Lustgarten (เดิมชื่อ Marx-Engels-Platz ตั้งแต่ปี 1951 ถึงปี 1994) บนเกาะในแม่น้ำชเปร นอกจากนี้ยังเป็น พิพิธภัณฑ์ศิลปะ, โรงละคร, ร้านอาหาร, ลานโบว์ลิ่ง, ที่ทำงานและ ไนต์คลับ ในวันที่ 23 สิงหาคม 1990, Volkskammer ได้ยุบสภาตามสนธิสัญญาการรวมประเทศเยอรมนี และยอมรับสภาBundestag ในกรุงบอนน์ พาลัสท์แดร์เรพูบลีคเริ่มก่อสร้างในปี 1973 และแล้วเสร็จในปี 1976 โดยสร้างทับพระราชวังBerliner Stadtschlossเดิม และรื้อถอนสำเร็จในปี 2008 และจะสร้างพระราชวังขึ้นมาใหม่โดยจะเริ่มก่อสร้างในปี 2013.
ดู อเล็กซานเดอร์พลัทซ์และพาลัสท์แดร์เรพูบลีค
การรวมชาติเยอรมัน
ักรวรรดิเยอรมันระหว่างค.ศ. 1871–1918 การรวมชาติเยอรมัน (Deutsche Einigung) คือการที่รัฐเล็กน้อยต่างๆที่พูดภาษาเยอรมันถูกรวมเข้าด้วยกันเป็นจักรวรรดิเยอรมัน การรวมชาติมีขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 18 มกราคม..
ดู อเล็กซานเดอร์พลัทซ์และการรวมชาติเยอรมัน
รอยขูดขีดเขียน
การพ่นสีรอยขูดขีดเขียนบนกำแพง รอยขูดขีดเขียน เป็นภาพวาดที่เกิดจากการขีดเขียนไปบนผนัง คำ "graffiti" เป็นคำศัพท์ที่มาจากภาษากรีก grafito ซึ่งแปลว่าการเขียนภาพลงบนผนังหรือกำแพงในสมัยโบราณ โดยที่รู้จักกันทั่วไปจะมีลักษณะของการพ่น (bombing) เซ็นชื่อ หรือเป็นการเซ็นลายเซ็น โดยเริ่มต้นจากเมืองฟิลาเดลเฟียในรัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา จากนั้นจึงแพร่หลายในนิวยอร์กช่วงยุคคริสต์ทศวรรษที่ 60.
ดู อเล็กซานเดอร์พลัทซ์และรอยขูดขีดเขียน
รถราง
รถรางเวียนนา หนึ่งในระบบรถรางที่ยาวที่สุดในโลก ป้ายเตือนผู้ขี่จักรยานให้ระวังร่องของรถราง รถราง (tram) เป็นพาหนะที่วิ่งบนรางชนิดหนึ่ง มีลักษณะคล้ายรถไฟแต่จะสั้นกว่าและมีน้ำหนักเบากว่า รถรางส่วนมากใช้ไฟฟ้าจากสายไฟด้านบน (pantograph) แต่ก็ยังมีบางส่วนใช้ดีเซลอยู่ ในปัจจุบันนิยมนับรถรางเป็นประเภทหนึ่งของรถไฟฟ้ารางเบาด้วย (light rail) รถรางในประเทศไทย ปัจจุบันมีที่เดียวคือ เอเชียทีค เดอะ ริเวอร์ฟร้อนท์ ส่วนรถรางชมเมืองนั้นวิ่งด้วยล้อรถไม่ใช้ระบบราง บริการในปี..
ดู อเล็กซานเดอร์พลัทซ์และรถราง
สังคมนิยม
ังคมนิยม (อังกฤษ: Socialism) เป็นระบบสังคมและเศรษฐกิจซึ่งมีลักษณะคือ สังคมเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตและการจัดการเศรษฐกิจแบบร่วมมือ ตลอดจนทฤษฎีและขบวนการทางการเมืองซึ่งมุ่งสถาปนาระบบดังกล่าว"The origins of socialism as a political movement lie in the Industrial Revolution." "สังคมเป็นเจ้าของ" อาจหมายถึง การประกอบการสหกรณ์ การเป็นเจ้าของร่วม รัฐเป็นเจ้าของ พลเมืองเป็นเจ้าของความเสมอภาค พลเมืองเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ หรือที่กล่าวมารวมกัน มีความผันแปรของสังคมนิยมจำนวนมากและไม่มีนิยามใดครอบคลุมทั้งหมด ความผันแปรเหล่านี้แตกต่างกันในประเภทของการเป็นเจ้าของโดยสังคมที่ส่งเสริม ระดับที่พึ่งพาตลาดหรือการวางแผน วิธีการจัดระเบียบการจัดการภายในสถาบันการผลิต และบทบาทของรัฐในการสร้างสังคมนิยม ระบบเศรษฐกิจสังคมนิยมอาศัยลัทธิองค์การการผลิตเพื่อใช้ หมายความว่า การผลิตสินค้าและบริการเพื่อตอบสนองอุปสงค์ทางเศรษฐกิจและความจำเป็นของมนุษย์โดยตรง และระบุคุณค่าวัตถุตามคุณค่าการใช้ประโยชน์หรืออรรถประโยชน์ ซึ่งตรงข้ามกับการผลิตมาเพื่อสะสมทุนและเพื่อกำไร ในแนวคิดดั้งเดิมของเศรษฐกิจสังคมนิยม มีการประสานงาน การทำบัญชีและการประเมินค่าอย่างเดียวกันโดยปริมาณทางกายภาพร่วม (common physical magnitude) หรือโดยการวัดแรงงาน-เวลาแทนการคำนวณทางการเงิน มีสองข้อเสนอในการกระจายผลผลิต หนึ่ง ยึดตามหลักที่ว่าให้กระจายแก่แต่ละคนตามการเข้ามีส่วนร่วม และสอง ยึดตามหลักผลิตจากทุกคนตามความสามารถ ให้แก่ทุกคนตามความจำเป็น วิธีการจัดสรรและประเมินคุณค่าทรัพยากรที่แน่ชัดยังเป็นหัวข้อการถกเถียงในการถกเถียงการคำนวณสังคมนิยมที่กว้างกว.
ดู อเล็กซานเดอร์พลัทซ์และสังคมนิยม
อเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย
ซาร์ อเล็กซานเดอร์ที่ 1 หรือพระนามเต็มคือ อเลคซันดร์ ปาวโลวิช (Александр Павлович) ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งรัสเซียระหว่าง ค.ศ.
ดู อเล็กซานเดอร์พลัทซ์และอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย
จัตุรัส
ัตุรัส อาจหมายถึง; คณิตศาสตร.
ดู อเล็กซานเดอร์พลัทซ์และจัตุรัส
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp.
ดู อเล็กซานเดอร์พลัทซ์และทวีปยุโรป
คริสต์ศตวรรษที่ 19
ริสต์ศตวรรษที่ 19 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1801 ถึง ค.ศ. 1900.
ดู อเล็กซานเดอร์พลัทซ์และคริสต์ศตวรรษที่ 19
ประเทศเยอรมนี
ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.
ดู อเล็กซานเดอร์พลัทซ์และประเทศเยอรมนี
ประเทศเยอรมนีตะวันออก
อรมนีตะวันออก (East Germany) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการของ สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี (Deutsche Demokratische Republik - DDR; German Democratic Republic - GDR) เป็นประเทศคอมมิวนิสต์ที่ดำรงอยู่ในช่วงปี 1949 ถึงปี 1990 โดยเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนเยอรมันที่ถูกปกครองโดยอดีตสหภาพโซเวียต หลังจากการยึดครองเยอรมนีของกองทัพโซเวียตสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เยอรมนีตะวันออกเป็นประเทศหนึ่งที่เข้าร่วมสนธิสัญญาวอร์ซอ ในช่วงสงครามเย็น โดยเยอรมนีตะวันออกได้นิยามตัวเองว่าเป็นรัฐสังคมนิยม "ของคนงานและชาวนา"Patrick Major, Jonathan Osmond, The Workers' and Peasants' State: Communism and Society in East Germany Under Ulbricht 1945–71, Manchester University Press, 2002, และเขตที่ถูกยึดครอง ได้รับการปกครองโดยกองกำลังโซเวียตในตอนท้ายของสงครามโลกครั้งที่สอง เขตยึดครองโซเวียตตามข้อตกลงพ็อทซ์ดัมซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกติดกับแนว Oder-Neisse เขตยึดครองโซเวียตล้อมรอบเบอร์ลินตะวันตก แต่ไม่รวมถึง เป็นผลให้เบอร์ลินตะวันตกยังคงอยู่นอกเขตอำนาจของเยอรมนีตะวันออก สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนีก่อตั้งขึ้นในเขตโซเวียต ขณะที่สหพันธรัฐจัดตั้งขึ้นในสามเขตตะวันตก เยอรมนีตะวันออกเป็นรัฐบริวารของสหภาพโซเวียต เจ้าหน้าที่ยึดครองโซเวียตได้เริ่มถ่ายโอนความรับผิดชอบในการบริหารให้กับผู้นำคอมมิวนิสต์เยอรมันในปี 1948 และเริ่มมีบทบาทเป็นรัฐเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 1949 อย่างไรก็ตามกองทัพโซเวียตยังคงกำลังอยู่ในประเทศตลอดช่วงสงครามเย็น จนถึง 1989 เยอรมนีตะวันออกถูกปกครองโดยพรรคเอกภาพสังคมนิยมเยอรมนี แม้ว่าพรรคอื่น ๆ ในนามขององค์กรพันธมิตร National Front of Democratic Germany 29 October 1989.
ดู อเล็กซานเดอร์พลัทซ์และประเทศเยอรมนีตะวันออก
แม่น้ำชเปร
แม่น้ำชเปรในเบอร์ลิน-เทรปโทว มองตามกระแสน้ำ แผนที่เยอรมนี เน้นแม่น้ำชเปร (ขวาสุด สีฟ้า) ชเปร (Spree; ซอร์บ: Sprowja หรือ Sprewja) เป็นแม่น้ำในรัฐแซกโซนี รัฐบรันเดนบูร์ก และรัฐเบอร์ลิน ชเปรเป็นสาขาด้านซ้ายของแม่น้ำฮาเฟิล มีความยาวประมาณ 400 ก.ม.
ดู อเล็กซานเดอร์พลัทซ์และแม่น้ำชเปร
เบอร์ลิน
อร์ลิน (แบร์ลีน) เป็นเมืองหลวงและรัฐหนึ่งในสิบหกรัฐสหพันธ์ของประเทศเยอรมนี มีประชากร 3.4 ล้านคนในเขตเมือง มากที่สุดในเยอรมนี และมากเป็นอันดับสองในสหภาพยุโรป เป็นศูนย์กลางของเขตนครหลวงเบอร์ลิน-บรานเดนบูร์ก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเยอรมนี มีประชากรในเขตนครหลวงรวม 1คนจาก 1ชาติ มากเป็นอันดับเก้าในสหภาพยุโรป, Eurostat.
ดู อเล็กซานเดอร์พลัทซ์และเบอร์ลิน
25 ตุลาคม
วันที่ 25 ตุลาคม เป็นวันที่ 298 ของปี (วันที่ 299 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 67 วันในปีนั้น.
ดู อเล็กซานเดอร์พลัทซ์และ25 ตุลาคม
ดูเพิ่มเติม
จัตุรัสในเบอร์ลิน
พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 3 แห่งปรัสเซีย
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Alexanderplatz