เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

อำเภอพนัสนิคม

ดัชนี อำเภอพนัสนิคม

อำเภอพนัสนิคม ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัดชลบุรี พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม ประชากรส่วนใหญ่นับถือพุทธศาสน.

สารบัญ

  1. 47 ความสัมพันธ์: ชาดกชาตรี ศรีชลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระพุทธรูปมิ่งเมืองพระพนัสบดีพระกัสสปพุทธเจ้าการปกครองส่วนท้องถิ่นมณฑลเทศาภิบาลวัดหลวงพรหมาวาสวัดใต้ต้นลานวัดโบสถ์วิทยาลัยการอาชีพพนัสนิคมศาสนาพุทธสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสระสี่เหลี่ยมสุวรรณภูมิหมู่บ้านหลวงพ่อติ้วอำเภอบ่อทองอำเภอบ้านบึงอำเภอบ้านโพธิ์อำเภอพานทองอำเภอพนัสนิคมอำเภอหนองใหญ่อำเภอแปลงยาวอำเภอเกาะจันทร์จังหวัดชลบุรีถนนศุขประยูรทวารวดีงานบุญกลางบ้านตำบลปัญญาสชาดกแหล่งโบราณคดีบ้านบนเนินแหล่งโบราณคดีหนองในแหล่งโบราณคดีที่ฝังศพโบราณบ้านเหนือแหล่งโบราณคดีโคกพุทราโรงเรียนพนัสพิทยาคารโรงเรียนอุทกวิทยาคมโรงเรียนอนุบาลพนัสศึกษาลัยโคกพนมดีเมืองพระรถเทศบาลตำบลหมอนนางเทศบาลเมืองพนัสนิคม

ชาดก

ก (-saजातक) คือ เรื่องราวหรือชีวประวัติในอดีตชาติของพระโคตมพุทธเจ้า คือ สมัยที่พระองค์เป็นพระโพธิสัตว์บำเพ็ญบารมีอยู่ พระองค์ทรงนำมาเล่าให้พระสงฆ์ฟังในโอกาสต่าง ๆ เพื่อแสดงหลักธรรมสุภาษิตที่พระองค์ทรงประสงค์ เรียกเรื่องในอดีตของพระองค์นี้ว่า ชาดก ชาดกเป็นเรื่องเล่าคล้ายนิทาน บางครั้งจึงเรียกว่า นิทานชาดก ชาดกที่ทรงเล่านั้นมีหลายร้อยเรื่อง ว่าทรงเคยเกิดเป็นมนุษย์บ้าง เป็นสัตว์บ้าง แต่ที่รู้จักกันโดยทั่วไป คือ 10 ชาติสุดท้ายที่เรียกว่าทศชาติชาดก และชาติสุดท้ายที่สุดที่ทรงเสวยพระชาติเป็นพระเวสสันดร จึงเรียกเรื่องพระเวสสันดรนี้ว่า มหาเวสสันดรชาดก.

ดู อำเภอพนัสนิคมและชาดก

ชาตรี ศรีชล

ตรี ศรีชล เป็นนักร้องเพลงลูกทุ่งชายเสียงดีเลือดนักสู้จากเมืองน้ำเค็ม เขามีความสามารถทั้งการร้องเพลง รวมทั้งการประพันธ์เพลงลูกทุ่งในระดับชั้นแนวหน้าของวงการลูกทุ่งเมืองไทย ผลงานเพลงทั้งทีเจขาร้องและประพันธ์ เป็นที่รู้จักของแฟนเพลงมากมาย ชาตรี ศรีชล เป็นเจ้าของผลงานเพลงดังอย่าง " สาวผักให่ ", สมัครรักสมัครแฟน " และอื่นๆอีกมาก.

ดู อำเภอพนัสนิคมและชาตรี ศรีชล

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

งเรือหลวงในรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พระราชสมภพ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู อำเภอพนัสนิคมและพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ.

ดู อำเภอพนัสนิคมและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ.

ดู อำเภอพนัสนิคมและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ดู อำเภอพนัสนิคมและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมาธิวรเสรฐ มหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (31 มีนาคม พ.ศ. 2330 - 2 เมษายน พ.ศ. 2394) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และพระองค์แรกที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเรียม (ภายหลังได้รับสถาปนา เป็นสมเด็จพระศรีสุลาไลย) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ วันจันทร์ แรม 10 ค่ำ เดือน 4 ปีมะแม เวลาค่ำ 10.30 น.

ดู อำเภอพนัสนิคมและพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระพุทธรูปมิ่งเมือง

ระพุทธรูปมิ่งเมือง (พนัสนิคม) เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย แกะสลักด้วยไม้ประดู่ ลักษณะเป็นศิลปะของชาวลาว ประดิษฐาน ณ พระวิหารพระพุทธรูปมิ่งเมือง เทศบาลเมืองพนัสนิคม อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี และกรมศิลปากรขึ้นทะเบียนเป็นโบราณวัตถุเมื่อ พ.ศ.

ดู อำเภอพนัสนิคมและพระพุทธรูปมิ่งเมือง

พระพนัสบดี

ระพนัสบดี พระพุทธรูปศิลาสมัยทวารวดี(พระพนัสบดี)ได้ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณวัตถุแล้ว โดยสันนิษฐานว่าพระพนัสบดีองค์จริงนั้น สร้างขึ้นในสมัยทวารวดี และพระพนัสบดีองค์จำลอง ประดิษฐาน ณ หอพระพระพนัสบดี อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี จัดเป็นพระพุทธรูปที่มีพุทธลักษณะงดงามในประเทศไทยองค์หนึ่ง.

ดู อำเภอพนัสนิคมและพระพนัสบดี

พระกัสสปพุทธเจ้า

ระกัสสปะพุทธเจ้า เป็นพระพุทธเจ้าในภัทรกัปป์นี้ ทรงจุติลงมาในโลกมนุษย์หลังจากสิ้นสุดศาสนาของพระโกนาคมพุทธเจ้าแล้ว โดยนับตั้งแต่อายุมนุษย์ลดลงจากสองหมื่นปีเหลือ 10 ปี แล้วเพิ่มขึ้นจนถึงสองหมื่นปีอีกครั้ง พระองค์จึงเสด็จลงมาตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้.

ดู อำเภอพนัสนิคมและพระกัสสปพุทธเจ้า

การปกครองส่วนท้องถิ่น

การปกครองส่วนท้องถิ่น คือหน่วยงานปกครองที่อยู่ใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุดรูปแบบหนึ่ง โดยปกติการปกครองส่วนท้องถิ่นจะเปิดโอกาสให้ประชาชนในเขตท้องถิ่นนั้น ๆ เลือกตั้งผู้แทนของตนเข้าไปทำหน้าที่เป็นผู้บริหารท้องถิ่น หรือเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นเพื่อเลือกผู้บริหารท้องถิ่นอีกทีหนึ่ง (เรียกว่าการเลือกตั้งโดยตรงหรือโดยอ้อมตามลำดับ) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะมีอำนาจอิสระ (autonomy) ในการบริหารจากรัฐได้ในระดับหนึ่งตามขอบเขตที่กฎหมายกำหนด การเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่นโดยตรง คือการเปิดโอกาสให้ประชาชนในท้องถิ่นนั้น ๆ สามารถเลือกตั้งผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตท้องถิ่นของตนได้โดยตรง ส่วนการเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่นโดยอ้อม สภาท้องถิ่นจะทำหน้าที่เลือกผู้บริหารท้องถิ่นแทนประชาชนในท้องถิ่น กล่าวคือ ประชาชนในท้องถิ่นจะทำหน้าที่เพียงแค่เลือกสมาชิกสภาท้องถิ่นเท่านั้น แล้วสมาชิกสภาท้องถิ่นจะทำหน้าที่ในการเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่นอีกชั้นหนึ่ง.

ดู อำเภอพนัสนิคมและการปกครองส่วนท้องถิ่น

มณฑลเทศาภิบาล

มณฑลเทศาภิบาลคือระบบแบ่งเขตการปกครองส่วนภูมิภาคในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่มีการใช้มาจนถึงสมัยช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่สองประมาณ 7 ปี เป็นการเลียนแบบการปกครองของอังกฤษในพม่าและมาเลเซีย เริ่มขึ้นในปี พ.ศ.

ดู อำเภอพนัสนิคมและมณฑลเทศาภิบาล

วัดหลวงพรหมาวาส

เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างของอำเภอพนัสนิคม ในอดีตเคยเป็นสถานที่ทำพิธีถือน้ำพิพัฒน์สัตยา เมื่อเข้าไปในบริเวณวัด จะสามารถสังเกตตามต้นไม้ จะเป็นที่พักพิงของค้างคาวแม่ไก่จำนวนมากกว่าพันตัว ซึ่งค้างคาวเหล่านี้อาศัยต้นไม้ภายในวัดมาเป็นเวลากว่าร้อยปีแล้ว ค้างคาวเหล่านี้จะเริ่มออกเวลาประมาณ ห้าโมงเย็นและกลับมาประมาณตีสี่ ครึ่งของทุกวัน บ้างว่าค้างคาวเหล่านี้บินไปหาอาหารไกลถึงจันทบุรี ตราดเลยก็มี.

ดู อำเภอพนัสนิคมและวัดหลวงพรหมาวาส

วัดใต้ต้นลาน

ราณสถาน วัดใต้ต้นลาน ตั้งอยู่ที่บ้านคลองหลวง ตำบลบ้านไร่หลักทอง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี.

ดู อำเภอพนัสนิคมและวัดใต้ต้นลาน

วัดโบสถ์

วัดโบสถ์ เป็นชื่อของวัดและสถานที่ต่าง ๆ ดังนี้.

ดู อำเภอพนัสนิคมและวัดโบสถ์

วิทยาลัยการอาชีพพนัสนิคม

วิทยาลัยการอาชีพพนัสนิคม เป็นสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ในอำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี.

ดู อำเภอพนัสนิคมและวิทยาลัยการอาชีพพนัสนิคม

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑.

ดู อำเภอพนัสนิคมและศาสนาพุทธ

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2486) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 57 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาชุ่ม พระองค์ยังทรงเป็นต้นราชสกุลดิศกุล.

ดู อำเภอพนัสนิคมและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

สระสี่เหลี่ยม

ราณสถาน สระน้ำ สระสี่เหลี่ยม เป็นโบราณสถานแหล่งน้ำที่ใช้ในชุมชนโบราณตั้งแต่สมัยทวารวดี ที่ตั้งอยู่ในอำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี.

ดู อำเภอพนัสนิคมและสระสี่เหลี่ยม

สุวรรณภูมิ

วรรณภูมิ อาจหมายถึง.

ดู อำเภอพนัสนิคมและสุวรรณภูมิ

หมู่บ้าน

หมู่บ้าน (village) เป็นนิคมหรือชุมชนมนุษย์ ใหญ่กว่าหมู่บ้านขนาดเล็ก (hamlet) แต่เล็กกว่าเมือง มีประชากรตั้งแต่ไม่กี่ร้อยคนไปถึงหลายพันคน (บางแห่งถึงหมื่นคน) ในอดีต หมู่บ้านเป็นรูปแบบชุมชนปกติสำหรับสังคมที่ใช้เกษตรกรรมเพื่อยังชีพ และยังมีในบางสังคมที่มิใช่สังคมเกษตรบ้าง ในบริเตนใหญ่ หมู่บ้านขนาดเล็กได้รับสิทธิเรียกหมู่บ้านเมื่อสร้างโบสถ์ ในหลายวัฒนธรรม เมืองและนครมีน้อย โดยมีสัดส่วนประชากรอาศัยอยู่น้อย การปฏิวัติอุตสาหกรรมดึงดูดให้คนจำนวนมากทำงานในโรงสีและโรงงาน การกระจุกของคนทำให้หลายหมู่บ้านเติบโตเป็นเมืองและนคร นอกจากนี้ยังทำให้มีความชำนาญพิเศษของแรงงานและช่างฝีมือ และพัฒนาการของการค้าจำนวนมาก แนวโน้มการกลายเป็นเมืองดำเนินต่อ แม้ไม่เชื่อมโยงกับการปรับให้เป็นอุตสาหกรรมเสมอไป หมู่บ้านเสื่อมความสำคัญลงทั้งที่เป็นหน่วยสังคมและนิคมมนุษย์ แม้มีชีวิตหมู่บ้านหลากรูปแบบ แต่หมู่บ้านตรงแบบเล็ก บางทีประกอบด้วย 5 ถึง 30 ครอบครัว บ้านตั้งอยู่ด้วยกันเพื่อการเข้าสังคมและการป้องกัน และดินแดนโดยรอบพื้นที่อยู่อาศัยมีการทำไร่นา หมู่บ้านประมงเดิมยึดการประมงพื้นบ้าน (artisan fishing) และตั้งอยู่ติดพื้นที่จับปลา หมวดหมู่:หน่วยการปกครอง หมวดหมู่:หมู่บ้าน หมวดหมู่:ที่อยู่อาศัย.

ดู อำเภอพนัสนิคมและหมู่บ้าน

หลวงพ่อติ้ว

ระพุทธรูปปางมารวิชัย หลวงพ่อติ้ว เป็นพระพุทธรูป ปางมารวิชัย แกะสลักด้วยไม้แต้ว ลักษณะเป็นศิลปะของชาวลาว ประดิษฐาน ณ พระอุโบสถ วัดหัวถนน ตำบลหัวถนน อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี กรมศิลปากรได้ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณวัตถุเมื่อ..

ดู อำเภอพนัสนิคมและหลวงพ่อติ้ว

อำเภอบ่อทอง

อำเภอบ่อทอง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดชลบุรี.

ดู อำเภอพนัสนิคมและอำเภอบ่อทอง

อำเภอบ้านบึง

อำเภอบ้านบึง ตั้งอยู่ในจังหวัดชลบุรี.

ดู อำเภอพนัสนิคมและอำเภอบ้านบึง

อำเภอบ้านโพธิ์

อำเภอบ้านโพธิ์ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดฉะเชิงเทร.

ดู อำเภอพนัสนิคมและอำเภอบ้านโพธิ์

อำเภอพานทอง

อำเภอพานทอง ตั้งอยู่ในจังหวัดชลบุรี.

ดู อำเภอพนัสนิคมและอำเภอพานทอง

อำเภอพนัสนิคม

อำเภอพนัสนิคม ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัดชลบุรี พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม ประชากรส่วนใหญ่นับถือพุทธศาสน.

ดู อำเภอพนัสนิคมและอำเภอพนัสนิคม

อำเภอหนองใหญ่

อำเภอหนองใหญ่ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดชลบุรี พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเนินดินสูง ๆ ต่ำ ๆ มีพื้นที่ราบเล็กน้อยตามเนินดินต่าง ๆ มีความสมบูรณ์ค่อนข้างน้อ.

ดู อำเภอพนัสนิคมและอำเภอหนองใหญ่

อำเภอแปลงยาว

อำเภอแปลงยาว เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดฉะเชิงเทร.

ดู อำเภอพนัสนิคมและอำเภอแปลงยาว

อำเภอเกาะจันทร์

อำเภอเกาะจันทร์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดชลบุรี.

ดู อำเภอพนัสนิคมและอำเภอเกาะจันทร์

จังหวัดชลบุรี

ังหวัดชลบุรี เป็นจังหวัดที่ติดกับอ่าวไทยจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย มีสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงหลายแห่งตั้งอยู่ นอกจากด้านอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแล้วยังเป็นจังหวัดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจสำคัญของภาคตะวันออกอย่างมาก นอกจากนั้นยังเป็นทั้งในด้านพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมต่าง ๆ ของประเทศ ในอดีตจังหวัดชลบุรีนั้นเคยเป็นแหล่งที่ตั้งของเมืองท่าที่มีความสำคัญมาก แม้แต่ในปัจจุบันนี้ก็ยังคงเป็นที่ตั้งของท่าเรือที่มีความสำคัญของประเทศรองจากท่าเรือกรุงเทพ นั่นก็คือท่าเรือแหลมฉบัง เนื่องจากมีทำเลที่ตั้งเหมาะสม จังหวัดชลบุรีนั้นมีอาณาเขตติดกับจังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดระยอง และจังหวัดจันทบุรี.

ดู อำเภอพนัสนิคมและจังหวัดชลบุรี

ถนนศุขประยูร

นนศุขประยูร หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 315 สายฉะเชิงเทรา - ชลบุรี เป็นถนนแอสฟัลต์คอนกรีต เริ่มจากทางแยกคอมเพล็กซ์ (ทางแยกกองพลทหารราบที่ 11) อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เข้าเขตอำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี เลี้ยวขวาที่ทางแยกพนัสนิคม ไปทางทิศตะวันตก เข้าสู่พื้นที่อำเภอพานทองและอำเภอเมืองชลบุรี ผ่านทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 และถนนเลี่ยงเมืองชลบุรี (สิ้นสุดทางหลวงแผ่นดินบริเวณนี้) และไปบรรจบถนนสุขุมวิทที่ทางแยกเฉลิมไทย ช่วงจากทางแยกคอมเพล็กซ์ถึงอำเภอพนัสนิคมมีขนาด 2 ช่องจราจร ระยะทาง 25 กิโลเมตร และช่วงจากอำเภอพนัสนิคมถึงปลายทางมีขนาด 4 ช่องจราจร ระยะทาง 22 กิโลเมตร รวมทั้งหมด 47 กิโลเมตร ช่วงที่เป็นทางหลวงแผ่นดินอยู่ในความดูแลของแขวงการทางฉะเชิงเทราและแขวงการทางชลบุรี สำนักทางหลวงที่ 12 (ชลบุรี) ถนนศุขประยูรเดิมมีชื่อเรียกว่า "ทางหลวงแผ่นดินสายฉะเชิงเทรา พนัสนิคม-ชลบุรี" - ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 67 ตอน 67 ง, 12 ธันวาคม..

ดู อำเภอพนัสนิคมและถนนศุขประยูร

ทวารวดี

ทวารวดี เป็นคำภาษาสันสกฤต เกิดขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ. 1427 โดยนายแซมมวล บีล (Samuel Beel) ได้แปลงมาจากคำว่า โถโลโปตี้ (Tolopoti) ที่มีอ้างอยู่ในบันทึกของภิกษุจีนจิ้นฮง (Hiuantsang) ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 กล่าวว่า โถโลโปตี เป็นชื่อของอาณาจักรหนึ่งตั้งอยู่ระหว่างอาณาจักรศรีเกษตร และอาณาจักรอิศานปุระ และเขาได้สรุปด้วยว่าอาณาจักรนี้เดิมตั้งอยู่ในดินแดนประเทศไทย(สยาม)ปัจจุบัน และยังสันนิษฐานคำอื่นๆที่มีสำเนียงคล้ายกันเช่น จวนโลโปติ (Tchouanlopoti) หรือ เชอโฮโปติ (Chohopoti) ว่าคืออาณาจักรทวารวดีด้วย ต่อมาความคิดเห็นนี้ได้มีผู้รู้หลายท่านศึกษาต่อและให้การยอมรับเช่น นายเอดัวร์ ชาวาน (Edourd Chavannes) และ นายตากากุสุ (Takakusu) ผู้แปลจดหมายเหตุการเดินทางของภิกษุอี้จิงในปี พ.ศ.

ดู อำเภอพนัสนิคมและทวารวดี

งานบุญกลางบ้าน

กบาลสะเดาะเคราะห์ของชาวบ้านคุ้งตะเภาในประเพณีทำบุญกลางบ้าน ประเพณีงานบุญกลางบ้าน เป็นประเพณีงานบุญของชาวไทยกลุ่มวัฒนธรรมที่ราบลุ่มภาคกลาง มักจัดขึ้นในราวกลางเดือน 3 ถึงเดือน 6 ตามปฏิทินจันทรคติไทย มักจะตกอยู่ในราวเดือนกุมภาพันธ์ ตามปฏิทินสุริยคติ ประเพณีงานบุญกลางบ้านในปัจจุบัน จะจัดขึ้นหลังเสร็จสิ้นจากการเก็บเกี่ยวข้าวของเกษตรกรชาวนา โดยในแต่ละท้องถิ่นมีรายละเอียดการจัดประเพณีแตกต่างกันไป แต่ยังคงสาระหลักในการทำบุญกลางบ้าน เพื่อสร้างเสริมกำลังใจ และสร้างความสามัคคีของคนในชุมชนชนบทเอาไว้สืบมาจนปัจจุบัน.

ดู อำเภอพนัสนิคมและงานบุญกลางบ้าน

ตำบล

ตำบลหรือ เขตที่ตั้งเมือง (township) เป็นนิคมมนุษย์ที่มีขนาดใหญ่กว่าหมู่บ้าน แต่เล็กกว่าเมือง ขนาดของเมืองขนาดเล็กอาจแตกต่างกันอย่างมากในทุกภูมิภาคของโลก เมืองขนาดเล็กในประเทศไทยยังหมายถึงเทศบาลตำบล.

ดู อำเภอพนัสนิคมและตำบล

ปัญญาสชาดก

ปัญญาสชาดก เป็นวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาเรื่องเอกที่พระเถระนักปราชญ์ชาวเชียงใหม่ได้รวบรวมเรื่องราวปรัมปราที่เป็นนิทานพื้นถิ่นแพร่หลายในยุคนั้น แล้วนำมารจนาเป็นชาดกขึ้นในระหว่างปี..

ดู อำเภอพนัสนิคมและปัญญาสชาดก

แหล่งโบราณคดีบ้านบนเนิน

แหล่งโบราณคดีบ้านบนเนิน เป็นแหล่งโบราณคดียุคก่อนประวัติศาสตร์ ที่ตั้งอยู่ในตำบลวัดหลวง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี.

ดู อำเภอพนัสนิคมและแหล่งโบราณคดีบ้านบนเนิน

แหล่งโบราณคดีหนองใน

แหล่งโบราณคดีหนองใน เป็นแหล่งโบราณคดียุคก่อนประวัติศาสตร์ สมัยสำริด ที่ตั้งอยู่ในตำบลไร่หลักทอง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี.

ดู อำเภอพนัสนิคมและแหล่งโบราณคดีหนองใน

แหล่งโบราณคดีที่ฝังศพโบราณบ้านเหนือ

แหล่งโบราณคดีที่ฝังศพโบราณบ้านเหนือ เป็นแหล่งโบราณคดียุคก่อนประวัติศาสตร์ ที่ตั้งอยู่ในตำบลไร่หลักทอง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี.

ดู อำเภอพนัสนิคมและแหล่งโบราณคดีที่ฝังศพโบราณบ้านเหนือ

แหล่งโบราณคดีโคกพุทรา

แหล่งโบราณคดีโคกพุทรา เป็นแหล่งโบราณคดียุคก่อนประวัติศาสตร์ ที่ตั้งอยู่ในตำบลวัดโบสถ์ อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี.

ดู อำเภอพนัสนิคมและแหล่งโบราณคดีโคกพุทรา

โรงเรียนพนัสพิทยาคาร

รงเรียนพนัสพิทยาคาร (Phanatpittayakarn School, ย่อ: พ.พ., PP) เป็นโรงเรียนรัฐบาลสหศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ตั้งอยู่ หมู่ที่ 6 ถนนสุขประยูร ตำบลกุฎโง้ง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี โดยมีชื่อที่เรียกกันทั่วไปของชาวพนัสนิคมว่า “โรงเรียนหลวงใหญ่” โรงเรียนพนัสพิทยาคาร อยู่ภายใต้สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 สหวิทยาเขตชลบุรี 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนประจำ อำเภอพนัสนิคม ก่อตั้งขึ้นในปี 28 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู อำเภอพนัสนิคมและโรงเรียนพนัสพิทยาคาร

โรงเรียนอุทกวิทยาคม

รงเรียนอุทกวิทยาคม ตั้งอยู่ที่ 22 หมู่ 4 ต.วัดโบสถ์ อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี เป็นโรงเรียนขนาดเล็กประจำตำบล เป็นโรงเรียนที่ให้โอกาสแก่เด็กยากจนที่มีความประพฤติดี ได้ศึกษาต่อตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 หรือช่วงชั้นที่ 3-4 เมื่อเรียนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สามารถขอโควตาเรียนต่อระดับอุดมศึกษา อาทิ มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ฯลฯ ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสามารถและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน อ.

ดู อำเภอพนัสนิคมและโรงเรียนอุทกวิทยาคม

โรงเรียนอนุบาลพนัสศึกษาลัย

รงเรียนอนุบาลพนัสศึกษาลัย เป็นโรงเรียนรัฐบาล แบบสหศึกษา เปิดสอนในระดับอนุบาล ประถมศึกษา ในอำเภอพนัสนิคม สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ.

ดู อำเภอพนัสนิคมและโรงเรียนอนุบาลพนัสศึกษาลัย

โคกพนมดี

ราณสถานเนินดินโคกพนมดี เป็นชุมชนโบราณสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ที่ตั้งอยู่ในอำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี.

ดู อำเภอพนัสนิคมและโคกพนมดี

เมืองพระรถ

มืองพระรถ เป็นเมืองโบราณ ที่ตั้งอยู่ในตำบลหน้าพระธาตุ อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ประกอบด้วยโบราณสถานสมัยทวารวดี.

ดู อำเภอพนัสนิคมและเมืองพระรถ

เทศบาลตำบลหมอนนาง

ทศบาลตำบลหมอนนาง ตั้งอยู่ในเขตตำบลหมอนนาง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี เป็นเทศบาลมีเนื้อที่ครอบคลุมตำบลหมอนนางทั้งตำบล โดยเทศบาลถูกจัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลตำบลหมอนนาง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอำเภอพนัสนิคมลงมาเล็กน้อย มีพื้นที่ 32,600 ไร่ หรือมีพื้นที่ประมาณ 52.58 ตารางกิโลเมตร ห่างจากอำเภอพนัสนิคมเป็นระยะทาง 8 กิโลเมตร ตามเส้นทางถนนสายพนัสนิคม-หนองเสม็ด-บ่อทอง.

ดู อำเภอพนัสนิคมและเทศบาลตำบลหมอนนาง

เทศบาลเมืองพนัสนิคม

แผนที่เมืองพนัสนิคม หอพระพนัสบดี เทศบาลเมืองพนัสนิคม พระพนัสบดี เทศบาลเมืองพนัสนิคม หรือ เมืองพนัสนิคม ตั้งอยู่ในเขตอำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี เป็นเทศบาลขนาดกลางมีเนื้อที่ครอบคลุมตำบลพนัสนิคมทั้งตำบล โดยเทศบาลเมืองพนัสนิคมถูกจัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลเมืองพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี 14 มีนาคม พ.ศ.

ดู อำเภอพนัสนิคมและเทศบาลเมืองพนัสนิคม

หรือที่รู้จักกันในชื่อ อ.พนัสนิคมถ้ำนางสิบสอง