โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อาคารไรชส์ทาค

ดัชนี อาคารไรชส์ทาค

อาคารไรชส์ทาค (Reichstagsgebäude) หรือมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า อาคารที่ประชุมใหญ่ไรชส์ทาค (Plenarbereich Reichstagsgebäude) เป็นสิ่งก่อสร้างทางประวัติศาสตร์ในกรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี สร้างขึ้นในสมัยจักรวรรดิเยอรมันเพื่อเป็นประชุมของรัฐสภาเยอรมัน (''ไรชส์ทาค'') อาคารนี้เริ่มใช้งานในปี..

7 ความสัมพันธ์: การรวมประเทศเยอรมนีจักรวรรดิเยอรมันประเทศเยอรมนีนอร์มัน ฟอสเตอร์ไรชส์ทาคเบอร์ลินเหตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาค

การรวมประเทศเยอรมนี

ผู้คนออกมารวมตัว ณ กำแพงเบอร์ลิน การรวมประเทศเยอรมนี (Deutsche Wiedervereinigung) เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปี..

ใหม่!!: อาคารไรชส์ทาคและการรวมประเทศเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิเยอรมัน

ักรวรรดิเยอรมัน (Deutsches Kaiserreich) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการที่ใช้เรียกแผ่นดินของชาวเยอรมัน ตั้งแต่ที่พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิเยอรมันใน..

ใหม่!!: อาคารไรชส์ทาคและจักรวรรดิเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.

ใหม่!!: อาคารไรชส์ทาคและประเทศเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

นอร์มัน ฟอสเตอร์

นอร์มัน รอเบิร์ต ฟอสเตอร์, บารอนฟอสเตอร์แห่งเทมส์แบงก์ (Norman Robert Foster, Baron Foster of Thames Bank) เกิดเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ. 1935 เป็นสถาปนิกชาวอังกฤษซึ่ง มีผลงานออกแบบผลงานระดับนานาชาติ เขาเป็นผู้ออกแบบอาคารสำนักงานที่เป็นจุดเด่นมากที่สุดคนหนึ่งในสหราชอาณาจักร ในปี 2009 เขาได้รับรางวัลพรินท์เฟลีเปออฟอัสตูเรียส ในสาขาศิลปะ และได้รับรางวัลพริตซ์เกอร์ ในปี..

ใหม่!!: อาคารไรชส์ทาคและนอร์มัน ฟอสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไรชส์ทาค

รชส์ทาค (Reichstag) เป็นคำภาษาเยอรมัน หมายถึงฝ่ายนิติบัญญัติของไรช์ ปรากฎขึ้นในหลายยุคหลายสมัยในประวัติศาสตร์เยอรมัน อันได้แก่.

ใหม่!!: อาคารไรชส์ทาคและไรชส์ทาค · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์ลิน

อร์ลิน (แบร์ลีน) เป็นเมืองหลวงและรัฐหนึ่งในสิบหกรัฐสหพันธ์ของประเทศเยอรมนี มีประชากร 3.4 ล้านคนในเขตเมือง มากที่สุดในเยอรมนี และมากเป็นอันดับสองในสหภาพยุโรป เป็นศูนย์กลางของเขตนครหลวงเบอร์ลิน-บรานเดนบูร์ก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเยอรมนี มีประชากรในเขตนครหลวงรวม 1คนจาก 1ชาติ มากเป็นอันดับเก้าในสหภาพยุโรป, Eurostat.

ใหม่!!: อาคารไรชส์ทาคและเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

เหตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาค

หตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาค (Reichstagsbrand) เป็นการลอบวางเพลิงอาคารไรชส์ทาค ในกรุงเบอร์ลินเมื่อวันที่ 27 กุมภาพัน..

ใหม่!!: อาคารไรชส์ทาคและเหตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาค · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

อาคารรัฐสภาไรชส์ทาค

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »