โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เจ้าชายซังกเย

ดัชนี เจ้าชายซังกเย

ไม่มีคำอธิบาย.

4 ความสัมพันธ์: พระเจ้าชอลจงพระเจ้าช็องโจแห่งโชซ็อนพระเจ้าย็องโจแห่งโชซ็อนมกุฎราชกุมารซาโด

พระเจ้าชอลจง

ระเจ้าชอลจง มีพระชนม์ชีพอยู่ในช่วงปี ค.ศ. 1831 - ค.ศ. 1863 โดยเป็นพระราชาย์ลำดับที่ 25 แห่งอาณาจักรโชซอน (ค.ศ. 1850 - ค.ศ. 1863) พระเจ้าชอลจง มีพระนามเดิมว่า ลี พยอน ประสูติเมื่อ ค.ศ. 1831 โดยเป็นพระโอรสขององค์ชายจอนกเย ซึ่งเป็นพระโอรสขององค์ชายอึนนอน ดังนั้น พระองค์จึงเป็นพระราชปนัดดาขององค์ชายรัชทายาทซาโด แต่เนื่องจากพระราชวงศ์ทางฝ่ายขององค์ชายอึนนอนได้เข้ารีตนับถือศาสนาคริสต์ ทำให้องค์ชายอึนนอนและพระชายาถูกสำเร็จโทษในข้อหาข้องแวะคริสต์ศาสนาใน ค.ศ. 1801 จากเหตุการณ์สังหารหมู่ปีชินยู และต่อมาพระมารดาของพระองค์ คือ พระชายายงซอง ก็ถูกสำเร็จโทษด้วยข้อหาเดียวกัน ทำให้พระองค์ต้องทรงลี้ภัยไปเกาะเชจูและเปลี่ยนพระนามเป็น ลีวอนบอม และต่อมาเมื่อองค์ชายจอนกเยก็สิ้นพระชนม์ พระองค์จำต้องตรากตรำทำนาเลี้ยงชีพอยู่บนเกาะเชจู ด้วยเพราะการแก่งแย่งอำนาจของตระกูลคิมแห่งเมืองอันดง ทำให้สมาชิกพระราชวงศ์องค์อื่นๆ ตกอยู่ในสภาพตกต่ำเช่นกัน ในปี ค.ศ. 1849 พระเจ้าฮอนจงสิ้นพระชนม์โดยไม่มีได้สถาปนารัชทายาทไว้ พระอัยยิกาคิมซึ่งเป็นมเหสีของพระเจ้าซุนโจ ทรงมีหน้าที่ต้องเป็นผู้เลือกสรรพระมหากษัตริย์องค์ต่อไปตามธรรมเนียม ทำให้พระนางขื้นมามีอำนาจแทนตระกูลโจที่นำโดยพระพันปี และพระนางทรงต้องการกษัตริย์หุ่นเชิดอีกพระองค์ จึงส่งขันทีไปเรียกตัวลีวอนบอมกลับมาจากเกาะเชจู ซึ่งพระองค์มีความใกล้ชิดตรงสายพระโลหิตกับพระราชวงศ์ที่สุด โดยเมื่อขันทีไปถึงเกาะเชจู ก็คำนับลีวอนบอมทั้งๆ ที่ลีวอนบอมกำลังทำนาอยู่อย่างนั้น และมีชีวิตที่แร้งแค้นยากลำบาก ในปี ค.ศ. 1850 ลีวอนบอมก็ทรงขึ้นครองราชย์เป็น พระเจ้าชอลจง แต่กระนั้นด้วยความที่ต้องทรงหลบหนีไปเกาะเชจูตั้งแต่ยังพระเยาว์ ทำให้ทรงไม่มีโอกาสจะเรียนหนังสือเหมือนสมาชิกพระราชวงศ์องค์อื่นๆ และทรงอ่านคำปฏิญาณในพิธีขึ้นครองราชย์ของพระองค์ไม่ออก กล่าวได้ว่าทรงเป็นกษัตริย์เกาหลีพระองค์เดียวที่ทรงพระอักษรไม่ออก และกล่าวกันว่ามีพระจริยวัต รเหมือนชาวประมง และเสวยน้ำจันท์มามายนัก แม้พระเจ้าชอลจลจะพระชนมายุ 18 พรรษาแล้ว แต่พระอัยยิกาคิมก็ยังคงยึดอำนาจเป็นผู้สำเร็จราชการแทนและจัดแจงให้พระเจ้าชอลจลอภิเษกกับ มเหสีชอลอิน จากตระกูลคิมแห่งอันดง และทำการแก้แค้นตระกูลโจแห่งพงยาง โดยการขับขุนนางตระกูลโจออกจากราชสำนักไปหมดสิ้น เหลือแต่พระพันปีโจโดดเดี่ยวเดียวดายในพระราชวัง แต่เหตุการณ์ก็พลิกผัน เมื่อพระอัยยิกาคิมสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 1857 อำนาจของตระกูลคิมจึงเสื่อมลงและเป็นโอกาสให้พระพันปีโจฟื้นฟูอำนาจของตระกูลโจขึ้นมาอีกครั้ง จนกระทั่งปี ค.ศ. 1863 พระเจ้าชอลจงสวรรคตโดยยังไม่ทันจะทรงมีรัชทายาท กล่าวกันอีกว่าแม้จะทรงครองราชย์มา 13 ปี แต่พระเจ้าชอลจงก็ยังมีพระจริยวัตรไม่สง่างามเหมือนชาวประมงและก็ยังทรงพระอักษรไม่ออกอยู่เหมือนเดิม แต่ในปี ค.ศ. 1897 ภายหลังจากที่พระเจ้าโกจงสถาปนาพระองค์เองเป็นจักรพรรดิแห่งเกาหลี จึงทรงแต่งตั้งพระเจ้าชอลจงเป็น ฮ่องเต้ชัง (章皇帝).

ใหม่!!: เจ้าชายซังกเยและพระเจ้าชอลจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าช็องโจแห่งโชซ็อน

็องโจ (Jeongjo; 28 ตุลาคม ค.ศ. 1752 – 18 สิงหาคม ค.ศ. 1800) เป็นพระมหากษัตริย์เกาหลีพระมหากษัตริย์แห่งเกาหลีพระองค์ที่ 22 จากราชวงศ์โชซ็อน สืบพระราชสมบัติต่อจากพระเจ้าย็องโจ พระอัยกาธิราช เมื่อ..

ใหม่!!: เจ้าชายซังกเยและพระเจ้าช็องโจแห่งโชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าย็องโจแห่งโชซ็อน

ระเจ้าย็องโจ (ค.ศ. 1694 - ค.ศ. 1776) ทรงเป็นกษัตริย์ลำดับที่ 21 แห่งราชวงศ์โชซ็อน (ค.ศ. 1724 - ค.ศ. 1776) พระเจ้าย็องโจทรงปฏิรูปการปกครองบ้านเมืองหลายประการ ทรงเป็นหนึ่งในกษัตริย์ที่ได้รับยกย่องที่สุดแห่งราชวงศ์โชซ็อน คู่กับพระนัดดา คือ พระเจ้าช็องโจแห่งโชซ็อน พระเจ้าย็องโจทรงเป็นกษัตริย์ที่ทรงครองราชย์ยาวที่สุดของราชวงศ์โชซ็อน.

ใหม่!!: เจ้าชายซังกเยและพระเจ้าย็องโจแห่งโชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

มกุฎราชกุมารซาโด

มกุฎราชกุมารชังฮ็อน หรือ มกุฎราชกุมารซาโด (ค.ศ. 1735 - ค.ศ. 1762) เป็นพระโอรสองค์ที่สองของพระเจ้ายองโจ กับสนมยองบิน ตระกูลอี แห่งจอนอึย ในสมัยพระเจ้าโคจงมีการแต่งตั้งองค์ชายซาโดให้มีฐานะเป็นกษัตริย์ พระนามว่า พระเจ้าจางโจ (장조, 莊祖) และต่อมาได้รับสถาปนาเป็น พระจักรพรรดิอึย (의황제, 懿皇帝) เนื่องจากมกุฎราชกุมารองค์ก่อน คือ มกุฎราชกุมารฮโยจาง สิ้นพระชนม์ไปในพ.ศ. 2271 ราชวงศ์โชซอนอยู่ในภาวะไร้ผู้สืบทอด บรรดาสนมของพระเจ้ายองโจก็ยังไม่มีพระโอรสเลย ดังนั้น เมื่อองค์ชายชังฮ็อนประสูติในพ.ศ. 2278 ที่พระราชวังชางเกียงกุง จึงได้รับแต่งตั้งเป็นวังเซจา (มกุฎราชกุมาร) ทันที องค์ชายชังฮ็อนทรงเรียนรู้ได้เร็ว ทรงย้ายไปที่ทงกุง (ตำหนักตะวันออก) อันเป็นที่อยู่เดิมของมเหสีซอนอีของพระเจ้าคยองจง เนื่องจากองค์ชายชังฮ็อนเป็นพระโอรสองค์เดียวในขณะนั้นของพระเจ้ายองโจ พระเจ้ายองโจจึงทรงเข้มงวดกับการศึกษาขององค์ชายชังฮ็อนอย่างมาก ใน..

ใหม่!!: เจ้าชายซังกเยและมกุฎราชกุมารซาโด · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

องค์ชายซังกเย

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »