สารบัญ
9 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 1469พ.ศ. 1476ราชวงศ์ถังยุคหลังราชวงศ์เหลียวหลี่ ฉุนซฺวี่หลี่ ฉงโฮ่วหลี่ ซื่อเยฺวี๋ยนจักรพรรดิจีนจักรพรรดิเหลียวไท่จู่
- บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1410
- บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 1476
พ.ศ. 1469
ทธศักราช 1469 ใกล้เคียงกั.
ดู หลี่ ซื่อเยฺวี๋ยนและพ.ศ. 1469
พ.ศ. 1476
ทธศักราช 1476 ใกล้เคียงกั.
ดู หลี่ ซื่อเยฺวี๋ยนและพ.ศ. 1476
ราชวงศ์ถังยุคหลัง
ราชวงศ์โฮ่วถัง (Later Tang Dynasty) (ค.ศ. 923 - 936) เป็นราชวงศ์ที่ 2 ในยุคห้าราชวงศ์และสิบอาณาจักร สถาปนาโดย จักรพรรดิถังซวงจง (หลี่คุนซู) เมื่อ..
ดู หลี่ ซื่อเยฺวี๋ยนและราชวงศ์ถังยุคหลัง
ราชวงศ์เหลียว
ราชวงศ์เหลียว (Liao Dynasty; ชี่ตัน: Mos Jælud; มองโกล: Ляо Улс/Lyao Uls) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ จักรวรรดิชี่ตัน (Khitan Empire; ชี่ตัน: Mos diau-d kitai huldʒi gur; มองโกล: Хятан (Khyatan) Гүрэн, Кидан (Kidan) Гүрэн) เป็นชื่อจักรวรรดิหนึ่งในเอเชียตะวันออก มีอำนาจในมองโกเลีย ภาคตะวันออกไกลบางส่วนของรัสเซีย เกาหลีเหนือ และภาคเหนือของจีนส่วนในตั้งแต่ปี 907 ถึง 1125 พระเจ้าไท่จู่ (Taizu) ข่านแห่งชาวชี่ตัน สถาปนาจักรวรรดินี้ขึ้นหลังจากราชวงศ์ถังของประเทศจีนล่มสลาย และไม่ช้าไม่นานหลังก่อตั้งขึ้น ราชวงศ์เหลียวก็เริ่มขยายดินแดน โดยพระเจ้าไท่จู่ทรงเอาชัยเหนือพวกพัลแฮ (Balhae) เป็นผลสำเร็จ พระเจ้าแผ่นดินองค์ถัด ๆ มายังทรงได้สิบหกมณฑลของจีนไว้โดยใช้วิธียุแยงให้รัฐที่สามส่งการก่อกวนเข้ามา แล้วราชวงศ์เหลียวจึงคอยตีกิน ทำให้ราชวงศ์ถังอวสานลง และราชวงศ์โครยอ (Goryeo) แห่งเกาหลี กับราชวงศ์ซ่ง (Song) แห่งจีน ตกเป็นเมืองออกของราชวงศ์เหลียวในที่สุด คำว่า "เหลียว" นี้ในภาษาจีนหมายความว่า ห่าง หรือไกล จุดเด่นของราชวงศ์เหลียว คือ ความตึงเครียดระหว่างจารีตประเพณีทางสังคมและการเมืองแบบชี่ตันกับแบบจีนซึ่งนำไปสู่วิกฤติการณ์ทางการสืบสันตติวงศ์ เพราะพระเจ้าแผ่นดินเหลียวฝักใฝ่คติบุตรหัวปีเป็นใหญ่ตามแบบจีน แต่ผู้ลากมากดีชาวชี่ตันส่วนใหญ่นิยมประเพณีที่ให้ผู้แข็งแกร่งที่สุดสืบเชื้อสาย ความแตกต่างกันระหว่างจารีตประเพณีชี่ตันและจีนนี้ยังเป็นเหตุให้พระเจ้าไท่จู่แห่งราชวงศ์เหลียวทรงตั้งการปกครองสองแบบขนานกัน ภาคเหนือซึ่งเป็นอาณาเขตชี่ตันให้ปกครองตามประเพณีชี่ตัน ภาคใต้ซึ่งประชากรส่วนใหญ่ไม่ใช่ชี่ตันให้ปกครองตามประเพณีจีน ความแตกต่างทางสังคมแบบชี่ตันกับแบบจีนยังได้แก่ บทบาทของบุคคลแต่ละเพศและยุทธวิธี ชาวชี่ตันเห็นว่า บุคคลเสมอภาคกันไม่ว่าเพศใด ขณะที่ประเพณีทางวัฒนธรรมจีนถือว่า สตรีต้องอยู่ในโอวาทบุรุษ ฉะนั้น หญิงชี่ตันจึงเล่าเรียนการรบ ทั้งยังจัดการทรัพย์สินครัวเรือน และดำรงตำแหน่งทางทหาร ทั้งยังไม่มีการคลุมถุงชน ตลอดจนสตรีไม่จำต้องครองความบริสุทธิ์ทางเพศไว้จนถึงการสมรสครั้งแรก กับมีสิทธิที่จะหย่าและสมรสใหม่ด้วย ในปี 1125 ชาวนฺหวี่เจิน (Jurchen) จากราชวงศ์จิน (Jin) ของพวกแมนจู จับกุมพระเจ้าเทียนจั้ว (Tianzuo) แห่งเหลียวไว้ได้ และทำลายราชวงศ์เหลียวลงสิ้น แต่ชาวชี่ตันที่ยังเหลืออยู่มีเยลฺวี่ ต้าฉือ (Yelü Dashi) เป็นผู้นำ พากันก่อตั้งราชวงศ์ใหม่เรียกว่า "เหลียวตะวันตก" (Western Liao) ปกครองกันอยู่ในเอเชียกลางบางส่วนเป็นเวลายาวนานเกือบหนึ่งศตวรรษ ก่อนจะถูกทัพพระเจ้าไท่จู่ (Taizu) แห่งราชวงศ์หยวนของพวกมองโกล เข้ายึดครอง แม้ความสำเร็จทางวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับราชวงศ์เหลียวจะสลักสำคัญ กับทั้งเครื่องปั้นและศิลปวัตถุอื่น ๆ ก็มีอยู่ในพิพิธภัณฑ์และสถานสะสมต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก แต่สภาพที่แท้จริงและขอบข่ายของอิทธิพลที่วัฒนธรรมเหลียวมีต่อพัฒนาการในระยะหลัง ๆ เช่น ด้านศิลปะการแสดงและการสังคีตนั้น ยังเป็นที่ถกเถียงกันอย่างยิ่ง.
ดู หลี่ ซื่อเยฺวี๋ยนและราชวงศ์เหลียว
หลี่ ฉุนซฺวี่
พระเจ้าจฺวังจงแห่งถังยุคหลัง (後唐莊宗; 2 ธันวาคม 885 – 15 มีนาคม 926) ชื่อตัวว่า หลี่ ฉุนซฺวี่ (李存朂, 李存勗 หรือ 李存勖) และชื่อรองว่า ย่าจึ (亞子) เป็นพระเจ้าแผ่นดินในราชวงศ์ถังยุคหลังสมัยห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร อยู่ในสมบัติตั้งแต่ปี 923 ถึงปี 926 หลี่ ฉุนซฺวี่ เป็นบุตรของหลี่ เค่อย่ง (李克用) แม่ทัพราชวงศ์ถัง ต่อมา จู เวิน (朱溫) แม่ทัพอีกคนแห่งราชวงศ์ถัง โค่นราชวงศ์ถังแล้วตั้งราชวงศ์เหลียงยุคหลังขึ้น หลี่ ฉุนซฺวี่ จึงรวมกำลังมารบกับราชวงศ์เหลียงยุคหลังเพื่อกู้ราชวงศ์ถัง เขาทำตั้งราชวงศ์ถังขึ้นอีกครั้งซึ่งประวัติศาสร์เรียก ราชวงศ์ถังยุคหลัง แล้วตั้งตัวเป็นกษัตริย์ถัง หลี่ ฉุนซฺวี่ ครองสมบัติได้สามปี กัว ฉงเชียน (郭從謙) ข้าราชการของเขา ก็ก่อกบฏในปี 926 และหลี่ ฉุนซฺวี่ ตายในระหว่างสู้กับกบฏ หลี่ ซื่อเยฺวี๋ยน (李嗣源) ลูกบุญธรรมของ หลี่ ฉุนซฺวี่ จึงขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ถัดมา หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ถูกปลงพระชนม์ หมวดหมู่:ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร.
ดู หลี่ ซื่อเยฺวี๋ยนและหลี่ ฉุนซฺวี่
หลี่ ฉงโฮ่ว
มเด็จพระจักรพรรดิถังหมิน (ค.ศ. 933 - 934) จักรพรรดิองค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์โฮ่วถัง ทรงพระนามเดิมว่า หลี่คงโหว เมื่อจักรพรรดิถังหมิงจง พระเชษฐาบุญธรรมสวรรคตลงในปี..
ดู หลี่ ซื่อเยฺวี๋ยนและหลี่ ฉงโฮ่ว
หลี่ ซื่อเยฺวี๋ยน
มเด็จพระจักรพรรดิถังหมิงจง (ค.ศ. 867 - ค.ศ. 933) จักรพรรดิองค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์โฮ่วถัง ทรงพระนามว่า หลี่ซือหยวน ทรงเป็นบุตรชายบุญธรรมของหลี่เค่อยัง ซึ่งเป็นพระบิดาของจักรพรรดิถังซวงจง เมื่อจักรพรรดิถังซวงจงพระอนุชาสวรรคต ระหว่างเกิดกบฏของขุนนาง ข้าราชการ หลี่ซื่อหยวนจึงนำกำลังเข้าปราบปรามจนเรียบร้อยและจึงขึ้นครองราชย์สืบต่อมา ทรงพระนามว่า จักรพรรดิถังหมิงจง เมื่อ..
ดู หลี่ ซื่อเยฺวี๋ยนและหลี่ ซื่อเยฺวี๋ยน
จักรพรรดิจีน
มเด็จพระเจ้ากรุงจีน หรือ จักรพรรดิจีน (หวงตี้; ฮกเกี้ยน:ฮ่องเต้; แต้จิ๋ว:อ้วงตี่) คือประมุขจักรวรรดิจีน โดยมีจิ๋นซีฮ่องเต้เป็นฮ่องเต้พระองค์แรก ก่อนสมัยราชวงศ์ฉิน ประเทศจีนได้ถูกแบ่งเป็นแว่นแคว้นต่าง ๆ มากมาย และแต่ละแคว้นจะมีผู้ปกครอง เรียกว่า อ๋อง (王; พินอิน:wáng) ซึ่งแปลว่า พระมหากษัตริย์ แต่ต่อมาหลังจากอ๋องแห่งแคว้นฉินได้รวบรวมแว่นแคว้นต่าง ๆ เป็นหนึ่งเดียวจึงสถาปนาแผ่นดินเป็นจักรวรรดิจีน และประกาศใช้เป็นพระนามคำนำหน้าว่าจักรพรรดิหรือฮ่องเต้ คือฉินซือหวงตี้ หรือจิ๋นซีฮ่องเต้ ตั้งแต่สมัยราชวงศ์ฉิน ฮ่องเต้ได้รับการเคารพในฐานะโอรสแห่งสวรรค์ คือเปรียบเสมือนได้รับอำนาจจากสวรรค์มาให้ปกครองประชาชน ตามหลักการ "สูงสุดโอรสสวรรค์ ล่างสุดนั้นประชาราษฎร" (最高的是天子,最低的是人民) การสืบทอดตำแหน่งฮ่องเต้มักอยู่ในรูปแบบจากบิดาไปยังบุตร โดยคำว่า ฮ่องเต้ หรือ หวงตี้ ถ้าแปลตรงตัวจะสามารถแปลได้ว่า "ผู้ปกครองที่ยิ่งใหญ่" (หวง 皇 - ผู้ทรงศักดิ์/Imperial, ตี้ 帝 - องค์อธิปัตย์/Sovereign) โดยนำมาจากพระนามฮ่องเต้องค์แรก คือ ฉินซือหวงตี้ (秦始皇帝) หลังจากนั้นตำแหน่งฮ่องเต้ก็ดำรงอยู่มานับพันปีซึ่งตั้งแต่ราชวงศ์ฉิน ราชวงศ์ฮั่น ราชวงศ์จิ้น ราชวงศ์สุย ราชวงศ์ถัง ราชวงศ์ซ่ง ราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หมิง โดยมาสิ้นสุดที่ราชวงศ์ชิง เนื่องจากบริหารบ้านเมืองล้มเหลว และยังถูกประเทศต่างชาติรุกราน เป็นเหตุให้ประเทศจีนเกิดการปฏิรูปการปกครองจากระบอบระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ ตำแหน่งฮ่องเต้จึงสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ.
ดู หลี่ ซื่อเยฺวี๋ยนและจักรพรรดิจีน
จักรพรรดิเหลียวไท่จู่
มเด็จพระจักรพรรดิเหลียวไท่จู่ (ค.ศ. 872 - 926) ปฐมจักรพรรดิแห่งราชวงศ์เหลียว ทรงพระนามเดิมว่า เย่ว์ลู่ อาเปาจี ประสูติในเผ่าชี่ตัน เมื่อ..
ดู หลี่ ซื่อเยฺวี๋ยนและจักรพรรดิเหลียวไท่จู่
ดูเพิ่มเติม
บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1410
บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 1476
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Li Siyuanหลี่ ซื่อเยวี๋ยนจักรพรรดิถังหมิงจง