โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กระดูกสันหลังหัก

ดัชนี กระดูกสันหลังหัก

กายอุปกรณ์/อุปกรณ์พยุงเพื่อยืดกระดูกสันหลังด้านหน้ารูปกางเขน (CASH Orthosis) กระดูกสันหลังหัก (spinal fracture, vertebral fracture, broken back) เป็นภาวะกระดูกหักที่กระดูกสันหลัง โดยมีรูปแบบต่าง ๆ รวมทั้ง กระดูกสันหลังหักเหตุอัด (vertebral compression fracture) กระดูกแตก (burst fracture), กระดูกคอหัก (cervical fracture), กระดูกคอหักแบบ Jefferson, กระดูกคอหักแบบ Flexion teardrop, กระดูกสันหลังหักที่คอหรือที่อกแบบ Clay-shoveler, แบบ Chance, และแบบ Holdsworth fracture กระดูกสันหลังหักที่อก (thoracic vertebrae) และที่เอว (lumbar vertebrae) มักสัมพันธ์กับการบาดเจ็บที่อาจถึงตายหรือทำให้พิการ (major trauma) และอาจทำให้ไขสันหลังเสียหาย ซึ่งมีผลเป็นความบกพร่องทางประสาท (neurological deficit) หมวดหมู่:ความผิดปกติของไขสันหลัง.

8 ความสัมพันธ์: กระดูกสันหลังกระดูกหักการบาดเจ็บรังสีเอกซ์ความพิการความตายไขสันหลังBurst fracture

กระดูกสันหลัง

กระดูกสันหลัง มองจากด้านข้าง ส่วนต่างๆของแนวกระดูกสันหลัง ส่วนต่างๆกระดูกสันหลังหนึ่งชิ้น มองจากทางด้านข้าง กระดูกสันหลังส่วนคอ ชิ้นแรก มองจากทางด้านบน แนวกระดูกสันหลังส่วนคอตอนต้น แสดงกระดูกและเอ็นของข้อต่อบริเวณท้ายทอย กระดูกสันหลังส่วนอก มองจากทางด้านบน กระดูกสันหลัง (Vertebral column) ในกายวิภาคของมนุษย์ คือกระดูกแกนของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ตั้งแต่ส่วนต้นคอ ลงมาจนถึงส่วนก้น ภายในมีไขสันหลัง ซึ่งอยู่ในช่องไขสันหลังอีกทีหนึ่ง.

ใหม่!!: กระดูกสันหลังหักและกระดูกสันหลัง · ดูเพิ่มเติม »

กระดูกหัก

กระดูกหักเป็นภาวะทางการแพทย์ที่เกิดความเสียหายกับความต่อเนื่องของผิวกระดูก อาจเกิดจากแรงกระแทกหรือแรงเค้น หรืออาจเกิดจากการบาดเจ็บเล็กน้อยที่เกิดกับกระดูกที่อ่อนแออยู่เดิม เช่น จากโรคกระดูกพรุน มะเร็งกระดูก หรือการสร้างกระดูกไม่สมบูรณ์ ซึ่งกรณีนี้จะเรียกว่ากระดูกหักเหตุโร.

ใหม่!!: กระดูกสันหลังหักและกระดูกหัก · ดูเพิ่มเติม »

การบาดเจ็บ

การบาดเจ็บ (Injury) เป็นความเสียหายหรืออันตรายต่อหน้าที่หรือโครงสร้างของร่างกาย อันมีสาเหตุจากแรงหรือปัจจัยภายนอกทั้งทางกายภาพหรือเคมี และทั้งโดยเจตนา (เช่นการฆ่าตัวตาย ฆาตกรรม) หรือไม่ได้เจตนา (เช่นอุบัติเหตุ หรือการบาดเจ็บจากกีฬา).

ใหม่!!: กระดูกสันหลังหักและการบาดเจ็บ · ดูเพิ่มเติม »

รังสีเอกซ์

รังสีเอกซ์มือของอัลแบร์ต ฟอน คืลลิเคอร์ ถ่ายโดยวิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน รังสีเอกซ์ (X-ray หรือ Röntgen ray) เป็นรังสีแม่เหล็กไฟฟ้า ที่มีความยาวคลื่นในช่วง 10 ถึง 0.01 นาโนเมตร ตรงกับความถี่ในช่วง 30 ถึง 30,000 เพตะเฮิรตซ์ (1015 เฮิรตซ์) ในเบื้องต้นมีการใช้รังสีเอกซ์สำหรับถ่ายภาพเพื่อการวินิจฉัยโรค และงานผลึกศาสตร์ (crystallography) รังสีเอกซ์เป็นการแผ่รังสีแบบแตกตัวเป็นไอออน และมีอันตรายต่อมนุษย์ รังสีเอกซ์ค้นพบโดยวิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน เมื่อ ค.ศ. 1895 ทฤษฎีอิเล็กตรอนสมัยปัจจุบัน อธิบายถึงการเกิดรังสีเอกซ์ว่า ธาตุประกอบด้วยอะตอมจำนวนมากในอะตอมแต่ละตัวมีนิวเคลียสเป็นใจกลาง และมีอิเล็กตรอนวิ่งวนเป็นชั้น ๆ ธาตุเบาจะมีอิเล็กตรอนวิ่งวนอยู่น้อยชั้น และธาตุหนักจะมีอิเล็กตรอนวิ่งวนอยู่หลายชั้น เมื่ออะตอมธาตุหนักถูกยิงด้วยกระแสอิเล็กตรอน จะทำให้อิเล็กตรอนที่อยู่ชั้นในถูกชนกระเด็นออกมาวิ่งวนอยู่รอบนอกซึ่งมีภาวะไม่เสถียรและจะหลุดตกไปวิ่งวนอยู่ชั้นในอีก พร้อมกับปล่อยพลังงานออกในรูปรังสี ถ้าอิเล็กตรอนที่ยิงเข้าไปมีพลังงานมาก ก็จะเข้าไปชนอิเล็กตรอนในชั้นลึก ๆ ทำให้ได้รังสีที่มีพลังงานมาก เรียกว่า ฮาร์ดเอกซเรย์ (hard x-ray) ถ้าอิเล็กตรอนที่ใช้ยิงมีพลังงานน้อยเข้าไปได้ไม่ลึกนัก จะให้รังสีที่เรียกว่า ซอฟต์เอกซเรย์ (soft x-ray) กระบวนการเกิดหรือการผลิตรังสีเอกซ์ทั้งโดยฝีมือมนุษย์และในธรรมชาติ มีอยู่ 2 วิธีใหญ่ ๆ คือ.

ใหม่!!: กระดูกสันหลังหักและรังสีเอกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ความพิการ

ัญลักษณ์สากลของคนพิการ คนพิการ หมายความว่า บุคคลซึ่งมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคม เนื่องจากมีความบกพร่องทางการเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์ พฤติกรรม สติปัญญาและการเรียนรู้หรือความบกพร่องอื่นใด ประกอบกับมีอุปสรรคในด้านต่างๆ และมีความจำเป็นเป็นพิเศษที่จะต้องได้รับความช่วยเหลือด้านหนึ่งด้านใด เพื่อให้สามารถปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคมได้อย่างบุคคลทั่วไป ทั้งนี้ ตามประเภทและหลักเกณฑ์ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ประกาศกำหน.

ใหม่!!: กระดูกสันหลังหักและความพิการ · ดูเพิ่มเติม »

ความตาย

กะโหลกศีรษะมนุษย์ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์แห่งความตาย ความตาย หรือ การเสียชีวิต เป็นการสิ้นสุดการทำหน้าที่ทางชีวภาพอันคงไว้ซึ่งสิ่งมีชีวิต ปรากฏการณ์สามัญที่นำมาซึ่งความตาย ได้แก่ โรคชรา การถูกล่า ทุพโภชนาการ โรคภัย อัตวินิบาตกรรม (การฆ่าตัวตาย) ฆาตกรรม ความอดอยาก การขาดน้ำ และอุบัติเหตุ หรือการบาดเจ็บภายในร่างกาย ร่างกายหรือศพของสิ่งมีชีวิตจะเริ่มเน่าสลายไม่นานหลังเสียชีวิต ความตายถือว่าเป็นโอกาสที่เศร้าหรือไม่น่ายินดีโอกาสหนึ่ง สาเหตุมาจากความผูกพันหรือความรักที่มีต่อบุคคลผู้เสียชีวิตนั้น หรือการกลัวความตาย โรคกลัวศพ ความกังวลใจ ความเศร้าโศก ความเจ็บปวดทางจิต ภาวะซึมเศร้า ความเห็นอกเห็นใจ ความสงสาร หรือความโดดเดี่ยว สาเหตุการตายที่พบบ่อยที่สุดคือโรคหัวใจ ตามมาด้วยโรคหลอดเลือดสมอง และโรคเกี่ยวกับเส้นเลือดในสมอง และลำดับที่สามคือภาวะติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจตอนล่าง.

ใหม่!!: กระดูกสันหลังหักและความตาย · ดูเพิ่มเติม »

ไขสันหลัง

ตำแหน่งของไขสันหลังที่อยู่ภายในกระดูกสันหลัง ภาพใกล้ของไขสันหลัง ภาพตัดขวางของไขสันหลังส่วนคอ ลำเส้นใยประสาทในไขสันหลัง ไขสันหลัง (spinal cord)คืออวัยวะที่มีลักษณะเป็นท่อยาวผอม ซึ่งมีเนื้อเยื่อประสาทเป็นส่วนประกอบสำคัญ อันได้แก่ เซลล์ประสาท (neuron) และ เซลล์เกลีย (glia) หรือเซลล์ที่ช่วยค้ำจุนเซลล์ประสาท ซึ่งไขสันหลังจะเป็นส่วนที่ยาวต่อลงมาจากสมอง (brain) สมองและไขสันหลังจะรวมกันเป็นระบบประสาทกลาง (central nervous system) ซึ่งบรรจุภายในและถูกปกป้องโดยกระดูกสันหลัง (vertebral column) หน้าที่หลักของไขสันหลังคือการถ่ายทอดกระแสประสาท (neural signals) ระหว่างสมองและส่วนต่างๆของร่างกาย ทั้งนี้เพียงตัวไขสันหลังเอง ยังสามารถควบคุมการเกิดรีเฟล็กซ์ (reflex) เช่นการยกขาทันทีเมื่อเผลอเหยียบตะปู และศูนย์สร้างรูปแบบการเคลื่อนไหวกลาง (central pattern generator).

ใหม่!!: กระดูกสันหลังหักและไขสันหลัง · ดูเพิ่มเติม »

Burst fracture

burst fracture เป็นการบาดเจ็บของกระดูกสันหลังแบบหนึ่งที่ลำกระดูกสันหลัง (vertebra) แตก/หักออกเนื่องจากเกิดภาระ/โหลดมากเกินที่โครงกระดูกแกน (เช่น รถชน ตกมาจากที่สูง หรือแม้แต่การชักบางอย่าง) โดยมีส่วนแหลมของลำกระดูกทิ่มเข้าไปในเนื้อเยื่อรอบ ๆ และบางครั้งเข้าไปในไขสันหลังเอง burst fracture จะจัดตาม "ความรุนแรงของการเสียรูปทรง, ความรุนแรงของอันตรายต่อช่องบรรจุไขสันหลัง, ระดับที่ลำกระดูกสั้นลง, และระดับความบกพร่องทางประสาท" เป็นการบาดเจ็บที่พิจารณาว่า รุนแรงกว่ากระดูกหักเหตุอัด (compression fracture) เพราะอาจตามด้วยความเสียหายทางประสาทในระยะยาว ซึ่งสามารถแสดงอาการทั้งหมดอย่างทันที หรือค่อย ๆ เพิ่มขึ้นเป็นระยะเวลานาน.

ใหม่!!: กระดูกสันหลังหักและBurst fracture · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Broken backSpinal fractureVertebral fractureกระดูกหลังหักหลังหัก

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »