โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

หลักการสอดคล้องในตัวเองของนาวิคอฟ

ดัชนี หลักการสอดคล้องในตัวเองของนาวิคอฟ

หลักการสอดคล้องโดยตัวเองของนาวิคอฟ (Novikov self-consistency principle) หรือที่เรียกว่าเป็น หลักการคาดคะเนความสอดคล้องโดยตัวเองของนาวิคอฟ (Novikov self-consistency conjecture) เป็นหลักการที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยนักฟิสิกส์ชาวรัสเซียชื่อ อิกอร์ ดมิทรีอาวิช นาฟวิคอฟ (Igor Dmitriyevich Novikov) ในกลางปี ​​1980 เพื่อที่จะแก้ปัญหาของพาราดอกซ์ หรือความขัดแย้งในเรื่องของการเดินทางข้ามเวลา, ซึ่งได้รับอนุญาตในทางทฤษฎีในการแก้ปัญหาบางอย่างของสัมพัทธภาพทั่วไป (การแก้ปัญหาที่ประกอบด้วยสิ่งที่เป็นที่รู้จักกันว่าเป็น เส้นโค้งปิดของเวลาเสมือน (closed timelike curve)) หลักการที่อ้างว่าหากมีเหตุการณ์ใด ๆ ก็ตามเกิดขึ้นที่จะก่อให้เกิดปฏิทรรศน์ หรือ พาราดอกซ์ หรือ ความขัดแย้ง หรือเกิด "การเปลี่ยนแปลง" อย่างหนึ่งอย่างใดต่อเหตุการณ์อันเป็นสิ่งที่ผ่านมาแล้วในอดีต, ดังนั้นความน่าจะเป็นของเหตุการณ์นั้นที่น่าจะสามารถเกิดขึ้นได้จะมีค่าเป็นศูนย์ มันจึงเป็นไปไม่ได้ที่จะสร้างความขัดแย้ง หรือ ปฏิทรรศน์ของเวลา (time paradoxe) ให้เกิดขึ้นได้.

8 ความสัมพันธ์: พาราด็อกซ์การแจกแจงความน่าจะเป็นการเดินทางข้ามเวลาทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปดอกเตอร์ฮูความน่าจะเป็นปฏิทรรศน์เส้นโค้งปิดเสมือนเวลา

พาราด็อกซ์

leftพาราด็อกซ์ (Paradox) เป็นวงดนตรีชาวไทย เริ่มก่อตั้งในปี พ.ศ. 2537 โดยกลุ่มนิสิตจากคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นวงที่มีเอกลักษณ์ทางการแสดงสด โดยจะมีการแสดงประกอบการเล่นดนตรี เช่น พ่นไฟ, สาดน้ำ, โยนลูกโป่งใส่คนดู ซึ่งแสดงโดยฝ่ายในวงที่เรียกว่า "โจ๊กเกอร์-ว้ากเกอร์" รับเชิญหลายคน โดยโจ๊กเกอร์-ว้ากเกอร์หลักของทางวงคือ อ๊อฟและเก่ง จะทำหน้าที่ร้องประสานเสียงบนเวทีให้อีกด้ว.

ใหม่!!: หลักการสอดคล้องในตัวเองของนาวิคอฟและพาราด็อกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

การแจกแจงความน่าจะเป็น

ในความน่าจะเป็นและสถิติศาสตร์ การแจกแจงความน่าจะเป็นกำหนดความน่าจะเป็นให้เซตย่อยของผลลัพธ์การทดลองสุ่ม การสำรวจหรือวิธีอนุมานทางสถิติที่วัดได้ทั้งหมด ตัวอย่างการแจกแจงความน่าจะเป็นพบได้ในการทดลองที่ปริภูมิตัวอย่างไม่เป็นตัวเลข ซึ่งการแจกแจงจะเป็นการแจกแจงประเภท, การทดลองที่ปริภูมิตัวอย่างเข้ารหัสด้วยตัวแปรสุ่มวิยุต ซึ่งการแจกแจงสามารถระบุได้ด้วยฟังก์ชันมวลของความน่าจะเป็น, และการทดลองที่ปริภูมิตัวอย่างเข้ารหัสด้วยตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง ซึ่งการแจกแจงสามารถเจาะจงได้ด้วยฟังก์ชันความหนาแน่นของความน่าจะเป็น การทดลองที่ซับซ้อนกว่า เช่น การทดลองที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสโทแคสติกที่นิยามในเวลาต่อเนื่อง อาจต้องใช้เมเชอร์ความน่าจะเป็นที่เจาะจงน้อยกว.

ใหม่!!: หลักการสอดคล้องในตัวเองของนาวิคอฟและการแจกแจงความน่าจะเป็น · ดูเพิ่มเติม »

การเดินทางข้ามเวลา

การเดินทางข้ามเวลา (time travel) เป็นแนวคิดเรื่องการเคลื่อนที่ (ที่มักจะทำให้เกิดขึ้นโดยฝีมือของมนุษย์) ระหว่างจุด 2 จุดที่มีความแตกต่างกันในห้วงเวลา หรือ ระหว่างห้วงเวลาหนึ่งไปยังอีกห้วงเวลาหนึ่ง ในลักษณะที่คล้ายคลึงกับการเคลื่อนที่ระหว่างจุด 2 จุดที่มีความแตกต่างกันในพื้นที่ หรือ ปริภูมิ (space) ในลักษณะย้อนสู่อดีตหรือมุ่งสู่อนาคต โดยไม่จำต้องประเชิญห้วงเวลาที่คั่นระหว่างจุดเริ่มต้นกับจุดหมายปลายทาง ซึ่งอาจอาศัยเครื่องมือทางเทคโนโลยีที่เรียกกันว่า "จักรกลข้ามเวลา" (time machine) Brave New Words: The Oxford Dictionary of Science Fiction by Jeff Prucher (2007),.

ใหม่!!: หลักการสอดคล้องในตัวเองของนาวิคอฟและการเดินทางข้ามเวลา · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป

การทดสอบสัมพัทธภาพทั่วไปความเที่ยงสูงโดยยานอวกาศแคสซินี สัญญาณวิทยุที่ส่งระหว่างโลกและยาน (คลื่นสีเขียว) ถูกหน่วงโดยการบิดของปริภูมิ-เวลา (เส้นสีน้ำเงิน) เนื่องจากมวลของดวงอาทิตย์ สัมพัทธภาพทั่วไปหรือทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป (general relativity หรือ general theory of relativity) เป็นทฤษฎีความโน้มถ่วงแบบเรขาคณิตซึ่งอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์จัดพิมพ์ใน..

ใหม่!!: หลักการสอดคล้องในตัวเองของนาวิคอฟและทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป · ดูเพิ่มเติม »

ดอกเตอร์ฮู

อกเตอร์ฮู (Doctor Who) เป็นภาพยนตร์ชุดสืบเนื่องแนววิทยาศาสตร์ของสหราชอาณาจักร ออกอากาศครั้งแรกในปี ค.ศ. 1963 ผลิตโดยบรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ (บีบีซี) โดยมีเนื้อหาเป็นเรื่องราวการผจญภัยของดอกเตอร์ (The Doctor) ซึ่งเป็นเจ้าแห่งกาลเวลา (Time Lord) มนุษย์ต่างดาวที่เดินทางข้ามเวลาและอวกาศ มีรูปร่างเหมือนมนุษย์ เขาท่องไปทั่วจักรวาลด้วยทาร์ดิสซึ่งเป็นยานอวกาศที่สามารถเดินทางข้ามเวลาได้ ภายนอกเป็นตู้ตำรวจสีน้ำเงินปี..

ใหม่!!: หลักการสอดคล้องในตัวเองของนาวิคอฟและดอกเตอร์ฮู · ดูเพิ่มเติม »

ความน่าจะเป็น

วามน่าจะเป็น คือการวัดหรือการประมาณความเป็นไปได้ว่า บางสิ่งบางอย่างจะเกิดขึ้นหรือถ้อยแถลงหนึ่ง ๆ จะเป็นจริงมากเท่าใด ความน่าจะเป็นมีค่าตั้งแต่ 0 (โอกาส 0% หรือ จะไม่เกิดขึ้น) ไปจนถึง 1 (โอกาส 100% หรือ จะเกิดขึ้น) ระดับของความน่าจะเป็นที่สูงขึ้น คือความเป็นไปได้มากขึ้นที่เหตุการณ์นั้นจะเกิด หรือถ้ามองจากเงื่อนเวลาของการสุ่มตัวอย่าง คือจำนวนครั้งมากขึ้นที่เหตุการณ์เช่นนั้นคาดหวังว่าจะเกิด มโนทัศน์เหล่านี้มาจากการแปลงคณิตศาสตร์เชิงสัจพจน์ในทฤษฎีความน่าจะเป็น ซึ่งใช้กันอย่างแพร่หลายในขอบเขตการศึกษาต่าง ๆ เช่น คณิตศาสตร์ สถิติศาสตร์ การเงิน การพนัน วิทยาศาสตร์ ปัญญาประดิษฐ์/การเรียนรู้ของเครื่อง และปรัชญา เพื่อร่างข้อสรุปเกี่ยวกับความถี่ที่คาดหวังของเหตุการณ์ต่าง ๆ เป็นอาทิ ทฤษฎีความน่าจะเป็นก็ยังนำมาใช้เพื่ออธิบายกลไกรากฐานและความสม่ำเสมอของระบบซับซ้อน.

ใหม่!!: หลักการสอดคล้องในตัวเองของนาวิคอฟและความน่าจะเป็น · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทรรศน์

ปฏิทรรศน์ หรือ พาราด็อกซ์ (Paradox) คือ ประโยคหรือกลุ่มของประโยคที่เป็นจริงอย่างชัดเจน แต่นำไปสู่ความขัดแย้งในตัวเอง หรือสถานการณ์ที่อยู่นอกความคิดทั่วไป โดยทั่วไปแล้วอาจเป็นไปได้ว่า ประโยคดังกล่าวนี้แท้จริงแล้วอาจไม่ได้นำไปสู่สภาวะขัดแย้ง ผลลัพธ์ที่ได้อาจไม่ใช่ข้อขัดแย้งจริง ๆ หรือข้อกำหนดในตอนต้นอาจไม่จริงหรือไม่สามารถเป็นจริงพร้อม ๆ กันได้ คำว่าปฏิทรรศน์หรือพาราด็อกซ์มักถูกใช้แทนที่ไปมากับคำว่าข้อขัดแย้ง อย่างไรก็ตามแนวคิดทั้งสองนั้นไม่เหมือนกันเสียทีเดียว ในขณะที่ข้อขัดแย้งประกาศสิ่งที่ตรงกันข้ามกับตัวเองหลาย ๆ ปฏิทรรศน์กลับมีทางออกหรือคำอ.

ใหม่!!: หลักการสอดคล้องในตัวเองของนาวิคอฟและปฏิทรรศน์ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นโค้งปิดเสมือนเวลา

ในวิชาฟิสิกส์เชิงคณิตศาสตร์, เส้นโค้งปิดเสมือนเวลา (CTC) คือ เส้นโลก (world line) ที่อยู่ในลอเรนท์เซียน แมนิโฟลด์ (Lorentzian manifold), ของอนุภาควัตถุในปริภูมิ-เวลา ซึ่งอยู่ในสภาพ "ปิด", ที่ย้อนกลับไปยังจุดเริ่มต้นเดิมของมันเอง ความเป็นไปได้นี้ถูกค้นพบโดย คูร์ท เกอเดิล (Kurt Gödel) ในปี 1949, Steven Hawking, My Brief History, chapter 11 ผู้ค้นพบวิธีการแก้สมการของสัมพัทธภาพทั่วไป (GR) ที่ช่วยให้ CTCs เป็นที่รู้จักกันว่าเป็นเกอเดิล เมตริกซ์ (Gödel metric); และตั้งแต่นั้นมาการแก้ปัญหาแบบสัมพัทธภาพทั่วไป (GR solution) อื่น ๆ ที่ประกอบด้วย CTCs จึงได้รับการค้นพบ, เช่น ทรงกระบอกทิปเลอร์ (Tipler cylinder) และ รูหนอนทะลุได้ (traversable wormhole) หาก CTCs มีอยู่จริง, การดำรงอยู่ของพวกมันก็ดูเหมือนจะบ่งบอกถึงอย่างน้อยที่สุดของความเป็นไปได้ทางทฤษฎีของการเดินทางข้ามเวลาย้อนกลับไปในอดีตในเวลาที่กำลังเกิดความพิศวงของปรากฏการณ์ปฏิทรรศน์คุณปู่, แม้ว่าหลักความสอดคล้องในตัวเองของนาวิคอฟดูเหมือนว่าจะแสดงให้เห็นว่าปฏิทรรศน์หรือความขัดแย้งดังกล่าวอาจจะเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงได้ นักฟิสิกส์บางคนคิดว่า CTCs ที่ปรากฏในการแก้ปัญหา GR บางอย่างอาจถูกตัดออกจากทฤษฎีในอนาคตของแรงโน้มถ่วงควอนตัมซึ่งจะเข้ามาแทนที่ GR.

ใหม่!!: หลักการสอดคล้องในตัวเองของนาวิคอฟและเส้นโค้งปิดเสมือนเวลา · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

หลักความสอดคล้องในตัวเองของนาวิคอฟหลักความสอดคล้องในตัวเองของนาฟวิคัฟ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »