สารบัญ
11 ความสัมพันธ์: พระยาราชวังสันพระยาประสานดุริยศัพท์ (แปลก ประสานศัพท์)พระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล)การขับเสภาละครสวดคฤหัสถ์อำเภอนครชัยศรีอิเหนาจังหวัดนครปฐมขุนช้างขุนแผนเขมรไทรโยค
พระยาราชวังสัน
ระยาราชวังสัน หรือ พระยาราชบังสัน เป็นบรรดาศักดิ์ ตำแหน่งจางวางอาสาจาม มีปรากฏในพงศาวดารตั้งแต่สมัยต้นกรุงศรีอยุธยาตอนต้น อาจหมายถึง.
ดู หลวงเสียงเสนาะกรรณ (พัน มุกตวาภัย)และพระยาราชวังสัน
พระยาประสานดุริยศัพท์ (แปลก ประสานศัพท์)
ระยาประสานดุริยศัพท์ (แปลก ประสานศัพท์) เป็นบุตรคนโตของขุนกนกเรขา (ทองดี) กับนางนิ่ม เกิดเมื่อวันอังคารที่ 4 กันยายน พ.ศ.
ดู หลวงเสียงเสนาะกรรณ (พัน มุกตวาภัย)และพระยาประสานดุริยศัพท์ (แปลก ประสานศัพท์)
พระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล)
ระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล) (เกิด: 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2438 — ถึงแก่อนิจกรรม: 9 มีนาคม พ.ศ. 2524) พระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาในเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (ปลื้ม สุจริตกุล) กับท่านผู้หญิงกิมไล้ สุธรรมมนตรี และเป็นพี่สาวของสมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรร.
ดู หลวงเสียงเสนาะกรรณ (พัน มุกตวาภัย)และพระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล)
การขับเสภา
การขับเสภาเป็นการเล่าเรื่องประเภทหนึ่งโดยกำเนิดมาจากการเล่านิทาน เมื่อการเล่านิทานเริ่มแพร่หลายจึงได้แต่งเป็นกลอนใส่ทำนองโดยใช้กรับเป็นเครื่องประกอบจังหว.
ดู หลวงเสียงเสนาะกรรณ (พัน มุกตวาภัย)และการขับเสภา
ละคร
ละคร หมายถึงการแสดงรำที่เป็นเรื่องเป็นราว ดำเนินเรื่องไปโดยลำดับ มีตัวเอกของเรื่อง ฝ่ายชายเรียกว่าตัวพระ เพราะสมัยโบราณแสดงแต่เรื่องจักรๆวงศ์ๆ เป็นเรื่องของกษัตริย์ มีชื่อว่าพระต่างๆ เช่น พระอนิรุทธิ์ พระไชยเชษฐ์ พระอภัยมณี ฝ่ายหญิงเรียกว่า ตัวนาง เพราะในเรื่องที่แสดงมักชื่อว่านางต่างๆ เช่น นางสีดา นางบุษบา นางทิพย์เกสร ยังไม่มีการแบ่งเป็นนางสาวและนางที่มีสามีแล้ว และตัวประกอบอื่นๆแล้วแต่ในเรื่องจะมีละครมีหลายแบบ แต่ละวฝฝใมีการแสดงและความมุ่งหมายแตกต่างกัน เช่น ละครโนรา ละครนอก ละครใน ละครถาม😴😴😴😴😴 และละครดึกดำบรรพ์ ในสมัยกรุงศรีอยุธยามีการจดบันทึกโดย ซิมง เดอ ลาลูแบร์ ราชฑูตแห่งราชอาณาจักรฝรั่งเศส ใน ปี..
ดู หลวงเสียงเสนาะกรรณ (พัน มุกตวาภัย)และละคร
สวดคฤหัสถ์
วดคฤหัสถ์ สวดคฤหัสถ์ หรือ สวดกะหัด คือการสวดชนิดหนึ่ง เป็นการเล่นที่นิยมเล่นในงานศพ เป็นการเล่นเลียนแบบการสวดพระอภิธรรมของพระสงฆ์ และเล่นในตอนดึกหลังจากพระสงฆ์สวดพระอภิธรรมเสร็จแล้ว การแสดงจะมีบทสวด "พื้น" อยู่ 4 อย่าง คือ พื้นพระอภิธรรม (สวดบทพระอภิธรรม) พื้นโพชฌงค์มอญหรือหับเผย พื้นพระมาลัย (สวดเรื่องพระมาลัย) และพื้นมหาชัย 1 แต่ที่นิยมใช้สวดกันอย่างแพร่หลาย คือพื้นพระอภิธรรม แต่เดิมเป็นการละเล่นของพระสงฆ์ซึ่งสวดมนต์แล้วออกลำนำเป็นภาษาต่างๆ มีปรากฏในกฎหมายตราสามดวง ห้ามไม่ให้พระสงฆ์สวดออกลำนำแบบนี้ จากนั้นจึงแพร่หลายมาในหมู่ชาวบ้าน และเริ่มมีการแต่งตัวตามภาษาที่ใช้สวดภาษิต จิตรภาษ.
ดู หลวงเสียงเสนาะกรรณ (พัน มุกตวาภัย)และสวดคฤหัสถ์
อำเภอนครชัยศรี
วามหมายอื่น ดูที่ มณฑลนครชัยศรี นครชัยศรี เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดนครปฐม เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ มีเรื่องราวบันทึกไว้ตั้งแต่สมัยสุโขทัยเป็นราชธานี นอกจากนี้ยังมีการค้นพบโบราณวัตถุจำนวนหนึ่งในบริเวณอำเภอนครชัยศรี ปัจจุบันนครชัยศรีนับเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดนครปฐม และอยู่ไม่ไกลจากกรุงเทพมหานคร.
ดู หลวงเสียงเสนาะกรรณ (พัน มุกตวาภัย)และอำเภอนครชัยศรี
อิเหนา
ละครของกรมศิลปากร เรื่อง “อิเหนา” ตอนส่งดอกลำเจียกให้นางค่อม แสดงเมื่อประมาณ พ.ศ. 2483 อิเหนาเป็น วรรณคดีเก่าแก่เรื่องหนึ่งของไทย เป็นที่รู้จักกันมานาน เข้าใจว่าน่าจะเป็นช่วงปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยได้ผ่านมาจากหญิงเชลยปัตตานี ที่เป็นข้าหลวงรับใช้พระราชธิดาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ (ครองราชย์ พ.ศ.
ดู หลวงเสียงเสนาะกรรณ (พัน มุกตวาภัย)และอิเหนา
จังหวัดนครปฐม
ังหวัดนครปฐม เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดที่อยู่ในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จังหวัดนี้มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน เชื่อว่าเป็นที่ตั้งเก่าแก่ของเมืองในสมัยทวารวดี โดยมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีเป็นจำนวนมาก.
ดู หลวงเสียงเสนาะกรรณ (พัน มุกตวาภัย)และจังหวัดนครปฐม
ขุนช้างขุนแผน
รื่องขุนช้างขุนแผน เป็นนิทานมหากาพย์พื้นบ้านของไทย เค้าเรื่องขุนช้างขุนแผนนี้สันนิษฐานว่าเคยเกิดขึ้นจริงในสมัยกรุงศรีอยุธยา แล้วมีผู้จดจำเล่าสืบต่อกันมา เนื่องจากเรื่องราวของขุนช้างขุนแผนมีปรากฏในหนังสือคำให้การชาวกรุงเก่า แต่มีการดัดแปลงเพิ่มเติมจนมีลักษณะคล้ายนิทานเพื่อให้เนื้อเรื่องสนุกสนานชวนติดตามยิ่งขึ้น รายละเอียดในการดำเนินเรื่องยังสะท้อนภาพการดำเนินชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของชาวสยามในครั้งอดีตได้อย่างชัดเจนยิ่ง จนนักภาษาศาสตร์วิลเลียม เกดนีย์ กล่าวว่า "ข้าพเจ้ามักคิดบ่อยๆว่า หากความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมไทยเกิดสูญหายไปหมด ทุกอย่างอาจจะถูกสร้างขึ้นมาได้ใหม่ จากข้อเขียนที่อัศจรรย์นี้" เรื่องขุนช้างขุนแผนนี้ ถูกสันนิษฐานว่าเป็นการแต่งขึ้นร้องแบบมุขปาถะ (ปากต่อปาก) เพื่อความบันเทิง ในลักษณะเดียวกับมหากาพย์ของยุโรป อย่างเช่นของโฮเมอร์ โดยคงจะเริ่มแต่งตั้งแต่ราวอยุธยาตอนกลาง (ราว พ.ศ.
ดู หลวงเสียงเสนาะกรรณ (พัน มุกตวาภัย)และขุนช้างขุนแผน
เขมรไทรโยค
ลงเขมรไทรโยค เป็นเพลงไทยเดิม พระนิพนธ์โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินประพาสน้ำตกไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี เมื่อ..