โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา

ดัชนี หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา

หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ (พ.ศ. 2425 - 24 กันยายน พ.ศ. 2461) เป็นหม่อมห้ามคนสุดท้าย ในสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช หม่อมเล็ก (ยงใจยุทธ) เป็นบุตรสาวของนายกองนา (ทองดำ ยงใจยุทธ) ข้าหลวงในรัชกาลที่ 5 เป็นตระกูลชาวสวนแถบตำบลศาลายา จังหวัดนครปฐม กับคุณถม มีพี่สาวคนโตชื่อ แจ่ม ยงใจยุทธ และมีน้องชายชื่อ ร้อยเอกชั้น ยงใจยุทธ (เป็นบิดาของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ) หม่อมเล็กถวายตัวเป็นหม่อมห้ามในสมเด็จเจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ เมื่อ..

14 ความสัมพันธ์: ชวลิต ยงใจยุทธพ.ศ. 2425พ.ศ. 2461พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารำไพประภาพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภัสสรวงศ์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาตพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านรเศรษฐสุริยลักษณ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์วังบูรพาภิรมย์สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดชจังหวัดนครปฐม24 กันยายน

ชวลิต ยงใจยุทธ

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชวลิต ยงใจยุทธ (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 —) เป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย คนที่ 22 อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตผู้บัญชาการทหารบกและอดีดรักษาการผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นเจ้าของสมญา "ขงเบ้งแห่งกองทัพบก" เคยได้รับการแต่งตั้งให้เป็น สมาชิกวุฒิสภา ขณะดำรงตำแหน่งทางทหาร เป็นผู้ก่อตั้ง และหัวหน้า พรรคความหวังใหม่ คนแรก และเป็นอดีต..หลายสมัย มีคะแนนเสียงหนาแน่นในจังหวัดนครพนม สื่อมวลชนและประชาชนทั่วไป เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "บิ๊กจิ๋ว" และในพื้นที่ภาคอีสาน เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "พ่อใหญ่จิ๋ว" นอกจากนี้แล้วยังมีอีกฉายาหนึ่งว่า "จิ๋วหวานเจี๊ยบ" จากการมีบุคลิกพูดจาอ่อนนิ่ม นุ่มนวล.

ใหม่!!: หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยาและชวลิต ยงใจยุทธ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2425

ทธศักราช 2425 ตรงกั.

ใหม่!!: หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยาและพ.ศ. 2425 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2461

ทธศักราช 2461 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1918 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยาและพ.ศ. 2461 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยาและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช

ร้อยเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช หรือ พระองค์พีระ (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2457 — 23 ธันวาคม พ.ศ. 2528) ทรงเป็นนักแข่งรถชาวไทย และทรงเป็นผู้เข้าแข่งขันกีฬาเรือใบในโอลิมปิก 1956, 1960, 1964 และ 1972.

ใหม่!!: หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยาและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารำไพประภา

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารำไพประภา เป็นพระธิดาใน สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช กับหม่อมเล็ก ยงใจยุทธ ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2450 ปีมะแม พระอิสริยยศเมื่อแรกประสูติเป็นหม่อมเจ้า พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าสถาปนาเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยาและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารำไพประภา · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภัสสรวงศ์

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภัสสรวงศ์ ประสูติเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2452 (พระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าอาภัสสรวงศ์ ภาณุพันธุ์) ทรงเป็นโอรสใน สมเด็จฯ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช กับหม่อมเล็ก ต่อมาพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภัสสรวงศ์เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2470 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2525.

ใหม่!!: หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยาและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภัสสรวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต

ระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตัดผม ม.ร.ว.เดชนศักดิ์ โอรสของพระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต และหม่อมมณี พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต (ประสูติ: กันยายน พ.ศ. 2460 — สิ้นพระชนม์: ตุลาคม พ.ศ. 2485) หรือพระนามลำลองว่า เจรี่ (Jerry) เป็นพระโอรสองค์เล็กในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ประสูติแต่หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา เป็นพระราชโอรสบุญธรรมของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7เอกชัย โควาวิสารัช ผ.น..

ใหม่!!: หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยาและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านรเศรษฐสุริยลักษณ์

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านรเศรษฐสุริยลักษณ์ ประสูติเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2458 เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช กับ หม่อมเล็ก ยงใจยุทธ เมื่อประสูติทรงเป็นหม่อมเจ้าชาย ประชวรด้วยพระโรคเกี่ยวกับสมองตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ ในรัชกาลที่ 7 โปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยาและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านรเศรษฐสุริยลักษณ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์

ลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ หรือ พระองค์จุล (28 มีนาคม พ.ศ. 2451 – 30 ธันวาคม พ.ศ. 2506) พระโอรสพระองค์เดียวในจอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ กับ หม่อมคัทริน ณ พิศณุโลก ชาวรัสเซีย ทรงสมรสกับหม่อมเอลิสะเบธ จักรพงษ์ ณ อยุธยา เมื่อวันที่ 30 กันยายน..

ใหม่!!: หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยาและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

วังบูรพาภิรมย์

วังบูรพาภิรมย์ นักเรียนโรงเรียนภานุทัต สมัยที่อยู่วังบูรพาภิรมย์ วังบูรพาภิรมย์ เป็นวังที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นพระราชทาน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช พระเจ้าลูกยาเธอพระองค์สุดท้องในสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี เมื่อ..

ใหม่!!: หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยาและวังบูรพาภิรมย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช

อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช (11 มกราคม พ.ศ. 2402 - 13 มิถุนายน พ.ศ. 2471) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี ประสูติเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2402 เป็นพระราชโอรสลำดับสุดท้ายในพระบรมราชชนนี เมื่อพระบรมราชชนนีสวรรคตสมเด็จเจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ พระชันษาเพียง 2 ปี สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ชาววังมักเอ่ยพระนามอย่างลำลองว่า "สมเด็จพระราชปิตุลาฯ" ส่วนชาวบ้านมักออกพระนามว่า "สมเด็จวังบูรพา" เพราะทรงมีวังชื่อว่า "วังบูรพาภิรมย์" ซึ่งก็คือตำแหน่งที่เป็นย่านวังบูรพาในปัจจุบัน และทรงเป็น "ตา" ของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ ตามพระประวัตินั้น ทรงเป็นจอมพลในรัชกาลที่ 7 ที่ทหารรักมาก เล่ากันมาว่าพวกทหารมักจะแบกพระองค์ท่านขึ้นบนบ่าแห่แหนในวาระที่มีการฉลองต่างๆ เช่น ฉลองคล้ายวันประสูติ เป็นต้น ทรงเป็นผู้ให้กำเนิดกิจการไปรษณีย์ไทย ครั้งถึงร.7 ในพิธีบรมราชาภิเศก ทรงโปรดเกล้าฯ เฉลิมพระเกียรติยศสมเด็จพระปิตุลา(อา)แท้ๆที่เหลืออยู่พระองค์เดียวนี้เป็นสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ศักดินา 100,000 เป็นพิเศษ เทียบเท่า ศักดินา ตำแหน่ง พระบรมโอรสาธิราช, พระบรมราชินี, พระบรมราชเทวี ท่านจึงทรงเป็นผู้มีบุญพิเศษ ที่เป็นเจ้าฟ้าชั้นโทจากแรกประสูติ แล้วได้เฉลิมพระเกิยรติยศขึ้นเป็นเจ้าฟ้าชั้นพิเศษที่มีศักดินาสูงเช่นนี้ เมื่อสิ้นพระชนม์ จึงใช้คำว่า "ทิวงคต" ท่านได้เสด็จทิวงคต เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2471 ทรงเป็นต้นราชสกุลภาณุพัน.

ใหม่!!: หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยาและสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครปฐม

ังหวัดนครปฐม เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดที่อยู่ในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จังหวัดนี้มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน เชื่อว่าเป็นที่ตั้งเก่าแก่ของเมืองในสมัยทวารวดี โดยมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยาและจังหวัดนครปฐม · ดูเพิ่มเติม »

24 กันยายน

วันที่ 24 กันยายน เป็นวันที่ 267 ของปี (วันที่ 268 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 98 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยาและ24 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

หม่อมเล็ก ยงใจยุทธ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »