โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

หม่อมเจ้าบุญจิราธร จุฑาธุช

ดัชนี หม่อมเจ้าบุญจิราธร จุฑาธุช

หม่อมเจ้าบุญจิราธร จุฑาธุช (10 สิงหาคม พ.ศ. 2450 - 19 มีนาคม พ.ศ. 2523) มีพระนามเดิมคือ หม่อมเจ้าจิรบุญญ์นี ชุมพล เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ ประสูติแต่หม่อมบุญยืน ชุมพล ณ อยุธยา (อัญญานางบุญยืน บุญรมย์) บุตรีในท้าวไชยบุตร์ (บุดดี บุญรมย์) และอัญญาแม่คำพ่วย บุญรมย์ มีศักดิ์เป็นหลานเจ้าราชบุตรสุ่ย สืบเชื้อสายมาแต่เจ้าพระวอพระตาแห่งเมืองหนองบัวลุ่มภู ประสูติ ณ วังสงัด (บริเวณสามแยกถนนผาแดงบรรจบกับถนนพโลรังฤทธิ์ ทิศเหนือทุ่งศรีเมือง อุบลราชธานี) ครั้นเสด็จเข้ามาประทับในกรุงเทพ ฯ พระบาทสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงทรงเปลี่ยนพระราชทานนามให้ใหม่ว่า "บุญจิราธร" ในเวลาที่ทรงพระมหากรุณาเปลี่ยนนามใหม่พระราชทานนั้น ได้ทรงแสดงพระราชจริยาให้ประจักษ์ว่า ไม่ได้เพ่งเล็งแต่จะให้เพราะ ได้ทรงเรียกปฏิทินมาตรวจอย่างถี่ถ้วนแล้ว จึงตกลงพระราชทานนามว่า "บุญจิราธร".

19 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2440พ.ศ. 2450พ.ศ. 2523พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ราชวงศ์จักรีวังเพ็ชรบูรณ์สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามาลินีนภดารา ศิรินิภาพรรณวดี กรมขุนศรีสัชนาลัยสุรกัญญาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัยหม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาหม่อมเจ้ากมลีสาณ ชุมพลหม่อมเจ้าธานีเสิกสงัด ชุมพลทุติยจุลจอมเกล้าทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า10 สิงหาคม19 มีนาคม

พ.ศ. 2440

ทธศักราช 2440 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1897 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: หม่อมเจ้าบุญจิราธร จุฑาธุชและพ.ศ. 2440 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2450

ทธศักราช 2450 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1907 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: หม่อมเจ้าบุญจิราธร จุฑาธุชและพ.ศ. 2450 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2523

ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: หม่อมเจ้าบุญจิราธร จุฑาธุชและพ.ศ. 2523 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: หม่อมเจ้าบุญจิราธร จุฑาธุชและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา

ระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าสาย ลดาวัลย์; ประสูติ: 4 กันยายน พ.ศ. 2405 — สิ้นพระชนม์: 24 มิถุนายน พ.ศ. 2472) พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดีและเจ้าจอมมารดาจีน ทรงเข้ารับราชการฝ่ายในเป็นพระอรรคชายาเธอในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พร้อมกับพระเชษฐภคินีร่วมพระบิดามารดาคือ พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าอุบลรัตนนารีนาค กรมขุนอรรควรราชกัลยา และพระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน.

ใหม่!!: หม่อมเจ้าบุญจิราธร จุฑาธุชและพระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์

นายพลตรี มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าชุมพลสมโภชเป็นพระเจ้าลูกยาเธอพระองค์ที่ 37 และเป็นพระราชโอรสองค์ที่ 21 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระองค์ที่ 3 ใน เจ้าจอมมารดาพึ่ง ประสูติเมื่อวันอังคารที่ 29 ธันวาคม..

ใหม่!!: หม่อมเจ้าบุญจิราธร จุฑาธุชและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จักรี

ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ. 2325 ยุคของราชวงศ์นี้ เรียกว่า "ยุครัตนโกสินทร์".

ใหม่!!: หม่อมเจ้าบุญจิราธร จุฑาธุชและราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

วังเพ็ชรบูรณ์

วังเพ็ชรบูรณ์ เคยตั้งอยู่ริมถนนพระราม 1 และถนนราชดำริ เคยเป็นที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย พระราชโอรสองค์ที่ 72 ใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 สำหรับที่ตั้งวังเพ็ชรบูรณ์คือ พระราชวังปทุมวัน ซึ่งรัชกาลที่ 4 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อเสด็จประพาสและให้ประชาชนไปแล่นเรือ โดยโปรดให้ขุดสระใหญ่ 2 สระติดกัน โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพลับพลา 2 ชั้น สำหรับประทับแรม ริมสระมีพลับพลาเสด็จออกและโรงละคร พร้อมกับตำหนักฝ่ายใน โปรดเกล้าฯ ให้สร้างวัดใกล้กับพระราชวัง พระราชทานนามว่า วัดปทุมวนาราม ในสมัยรัชกาลที่ 6 เมื่อสมเด็จฯ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัยเสด็จกลับจากศึกษาที่ประเทศอังกฤษ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชวังปทุมวัน นี้ว่า "วังเพ็ชรบูรณ์" ภายในวังประกอบด้วยตำหนัก ซึ่งมีชื่อเป็นเพลงไทยเดิม เนื่องจากทรงมีความสนพระทัยในด้านนาฏศิลป์และดุริยางคศิลป์ ตำหนักประถม วังเพ็ชรบูรณ์ สำหรับตำหนักมีดังนี้.

ใหม่!!: หม่อมเจ้าบุญจิราธร จุฑาธุชและวังเพ็ชรบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

ันเอกหญิง สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง มีพระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าจอมมารดาเปี่ยม) เมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: หม่อมเจ้าบุญจิราธร จุฑาธุชและสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามาลินีนภดารา ศิรินิภาพรรณวดี กรมขุนศรีสัชนาลัยสุรกัญญา

้าฟ้ามาลินีนพดารา(ซ้าย) และ เจ้าฟ้านิภานภดล(ขวา) สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามาลินีนพดารา กรมขุนศรีสัชนาลัยสุรกัญญา พระราชธิดาองค์ที่ ๓ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ พระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา ประสูติ ณ วันศุกร์ที่ ๓๑ กรกฎาคม..

ใหม่!!: หม่อมเจ้าบุญจิราธร จุฑาธุชและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามาลินีนภดารา ศิรินิภาพรรณวดี กรมขุนศรีสัชนาลัยสุรกัญญา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย (4 กรกฎาคม พ.ศ. 2435 — 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2466) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ประสูติเมื่อวันอังคารที่ 5 กรกฎาคม..

ใหม่!!: หม่อมเจ้าบุญจิราธร จุฑาธุชและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยา

หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยา (ท.จ.) (4 ธันวาคม พ.ศ. 2422-20 ตุลาคม พ.ศ. 2481) มีนามเดิมว่า อัญญานางเจียงคำ สกุลเดิม บุตโรบล เป็นเจ้านายสตรีของเมืองอุบลราชธานีซึ่งเป็นเมืองประเทศราชของราชอาณาสยามมาตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) ที่ถวายตัวเป็นหม่อมใน พลตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ พระราชโอรสองค์ที่ 11 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) และองค์ที่ 3 ในเจ้าจอมมารดาพึ่ง เพื่อเป็นการกระชับสัมพันธไมตรีระหว่างราชสำนักสยาม กับเจ้านายพื้นถิ่นเมืองอุบลราชธานีให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น ในช่วงที่มีนโยบายปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดิน สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5).

ใหม่!!: หม่อมเจ้าบุญจิราธร จุฑาธุชและหม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้ากมลีสาณ ชุมพล

หม่อมเจ้ากมลีสาน ชุมพล โอรสใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ กับ หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อ.

ใหม่!!: หม่อมเจ้าบุญจิราธร จุฑาธุชและหม่อมเจ้ากมลีสาณ ชุมพล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าธานีเสิกสงัด ชุมพล

หม่อมเจ้าธานีเสิกสงัด ชุมพล พระโอรสใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์และหม่อมบุญยืน ชุมพล ณ อ.

ใหม่!!: หม่อมเจ้าบุญจิราธร จุฑาธุชและหม่อมเจ้าธานีเสิกสงัด ชุมพล · ดูเพิ่มเติม »

ทุติยจุลจอมเกล้า

ทุติยจุลจอมเกล้า มีอักษรย่อว่า ท.. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานทั้งฝ่ายหน้า (บุรุษ) จำนวน 250 สำรับ และฝ่ายใน (สตรี) จำนวน 100 สำรับ โดยทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษจัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติอันดับที่ 18 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย การพระราชทานขึ้นอยู่กับพระราชอัธยาศัยเท่านั้น.

ใหม่!!: หม่อมเจ้าบุญจิราธร จุฑาธุชและทุติยจุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ

ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ มีอักษรย่อว่า ท..ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานทั้งฝ่ายหน้า (บุรุษ) จำนวน 200 สำรับ และฝ่ายใน (สตรี) จำนวน 100 สำรับ โดยทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษจัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติอันดับที่ 13 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไท.

ใหม่!!: หม่อมเจ้าบุญจิราธร จุฑาธุชและทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า

รื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า (The Most Illustrious Order of Chula Chom Klao) สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ. 2416 ด้วยทรงเห็นว่าพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์จักรีทรงอยู่ในราชสมบัติยั่งยืนนานมาเป็นเวลา 90 ปี ก็ด้วยความจงรักภักดีและการปฏิบัติราชการของพระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการทั้งปวง ทั้งมีพระราชประสงค์จะทรงชุบเลี้ยงบรรดาทายาทของบุคคลเหล่านี้ ให้มีความเจริญรุ่งเรืองในราชการสืบเนื่องต่อไป จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทายาทของผู้ได้รับพระราชทานสามารถรับพระราชทานตราสืบตระกูลของบิดาได้ โดยพระราชทานนามพระองค์ "จุลจอมเกล้า" เป็นนามของเครื่องราชอิสรยาภรณ์ตระกูลนี้ พร้อมทรงคิดคำขวัญจารึกบนดวงตราว่า "เราจะบำรุงตระกูลวงศ์ให้เจริญ".

ใหม่!!: หม่อมเจ้าบุญจิราธร จุฑาธุชและเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

10 สิงหาคม

วันที่ 10 สิงหาคม เป็นวันที่ 222 ของปี (วันที่ 223 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 143 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: หม่อมเจ้าบุญจิราธร จุฑาธุชและ10 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 มีนาคม

วันที่ 19 มีนาคม เป็นวันที่ 78 ของปี (วันที่ 79 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 287 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: หม่อมเจ้าบุญจิราธร จุฑาธุชและ19 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

หม่อมเจ้าหญิงบุญจิราธร ชุมพลหม่อมเจ้าบุญจิราธร ชุมพล

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »