สารบัญ
26 ความสัมพันธ์: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยพ.ศ. 2540ภิรมย์ กมลรัตนกุลมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดมหาวิทยาลัยนอร์ทแคโรไลนาร้านภูฟ้าศาสนาพุทธสภาคณาจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2549สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสหรัฐอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจตุตถจุลจอมเกล้าธัชชัย สุมิตรธนาคารกสิกรไทยคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยประเทศไทยปริญญาเอกโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์โทเฟิลเหรียญจักรพรรดิมาลาเทียนฉาย กีระนันทน์เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดตั้งขึ้นเพื่อดูแลหลักสูตรบัณฑิตศึกษาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยเฉพาะหลักสูตรสหสาขา ซึ่งเป็นหลักสูตรที่หลายคณะร่วมกันจัดการเรียนการสอน.
ดู สุชาดา กีระนันทน์และบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2540
ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู สุชาดา กีระนันทน์และพ.ศ. 2540
ภิรมย์ กมลรัตนกุล
ตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ ภิรมย์ กมลรัตนกุล นายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการอิสระ บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ จำกัด (มหาชน) กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์การแพท..
ดู สุชาดา กีระนันทน์และภิรมย์ กมลรัตนกุล
มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard University อ่านว่า ฮารฺเวิรฺด) มหาวิทยาลัยเอกชนในเมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกาได้ขึ้นชื่อว่าเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงของโลก แห่งหนึ่งและเป็นหนึ่งมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดของสหรัฐอเมริกา โดยก่อตั้งเมื่อปี 8 กันยายน พ.ศ.
ดู สุชาดา กีระนันทน์และมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
มหาวิทยาลัยนอร์ทแคโรไลนา
มหาวิทยาลัยนอร์ทแคโรไลนา (University of North Carolina) เป็นระบบมหาวิทยาลัยรัฐในรัฐนอร์ทแคโรไลนา สหรัฐอเมริกา ประกอบด้วย 16 มหาวิทยาลัยและ 1 โรงเรียน โดยก่อตั้งครั้งแรกที่แชเปิลฮิลล์ เมื่อ ค.ศ.
ดู สุชาดา กีระนันทน์และมหาวิทยาลัยนอร์ทแคโรไลนา
ร้านภูฟ้า
120px ร้านภูฟ้า จัดตั้งขึ้นเพื่อสนับสนุนการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ต่างๆของโครงการพัฒนาต่าง ๆ ซึ่งช่วยการส่งเสริมอาชีพประชาชนในถิ่นทุรกันดาร พัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร โดยใช้ตราสัญลักษณ์ "ภูฟ้า" เป็นเครื่องหมายการค้าสำหรับผลิตภัณฑ์ในโครงการส่งเสริมอาชีพ ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่ห่างไกล ทุรกันดาร ซึ่งมีฐานะยากจน ให้มีอาชีพเสริมเพิ่มรายได้จากอาชีพเกษตรกรรม.
ดู สุชาดา กีระนันทน์และร้านภูฟ้า
ศาสนาพุทธ
ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑.
ดู สุชาดา กีระนันทน์และศาสนาพุทธ
สภาคณาจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ณาจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Chulalongkorn University Faculty Senate) เป็นหน่วยงานอิสระภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีบทบาทสำคัญต่อมหาวิทยาลัย คือทำหน้าที่เป็น ตัวแทนคณาจารย์เพื่อให้คำแนะนำ และประสานงาน ด้วยความร่วมมืออันดี กับฝ่ายบริหาร คณาจารย์ นิสิต ตลอดจนหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความ เข้าใจอันดีในการ ที่จะมุ่งมั่นสร้างสรรค์ ประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัย โดยส่วนรวมอันจะ เป็นผลดีต่อสังคม และประเทศชาติ มีกำเนิดขึ้นจากพระปรีชาญาณของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก มีหน้าที่เป็น ที่ปรึกษาของอธิการบดี ในการที่จะบริหารงานของมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านวิชาการ มาตรฐานอาจารย์ กิจการนิสิต และเรื่องอื่น ๆ ตามแต่จะได้รับมอบหมาย เมื่อเริ่มเรียกว่า สภาศาสตราจารย์ และมีวิวัฒนาการเป็นลำดับ จนกระทั่งเป็นสภาคณาจารย์ สภาคณาจารย์มุ่งหวังที่จะมีบทบาทที่สำคัญต่อมหาวิทยาลัย โดยทำหน้าที่เป็นผู้แทนคณาจารย์ทั้งปวง เพื่อให้คำปรึกษา แนะนำ ตลอดจนประสานงาน ด้วยความร่วมมืออันดียิ่งกับฝ่ายบริหาร คณาจารย์ นิสิต ตลอดจนหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง อาทิเช่น สโมสรอาจารย์ และสมาคมนิสิตเก่าฯ เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีในการที่จะมุ่งมั่น สร้างสรรค์ประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัย โดยส่วนรวม อันจะเป็นผลดีต่อสังคมและประเทศชาติในที่สุด นอกจากการให้คำปรึกษา และข้อเสนอแนะแก่อธิการบดีแล้ว มหาวิทยาลัยยังให้สภาคณาจารย์ส่งผู้แทนเข้าร่วมเป็นกรรมการในคณะกรรมการต่างๆ จนถึงระดับสภามหาวิทยาลัย ซึ่งพระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้กำหนดให้ประธานสภาคณาจารย์เป็นกรรมการสภามหาวิทยาลัยโดยตำแหน่งด้วย พระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยฉบับปัจจุบัน (พ.ศ.
ดู สุชาดา กีระนันทน์และสภาคณาจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2549
นิติบัญญัติแห่งชาต..
ดู สุชาดา กีระนันทน์และสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2549
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ.
ดู สุชาดา กีระนันทน์และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
สหรัฐ
หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).
อธิการบดี
อธิการบดี เป็นตำแหน่งผู้บังคับบัญชาสูงสุดและรับผิดชอบงานทั้งปวงของมหาวิทยาลั.
ดู สุชาดา กีระนันทน์และอธิการบดี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.
ดู สุชาดา กีระนันทน์และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จตุตถจุลจอมเกล้า
ตุตถจุลจอมเกล้า มีอักษรย่อว..
ดู สุชาดา กีระนันทน์และจตุตถจุลจอมเกล้า
ธัชชัย สุมิตร
รองศาสตราจารย์ ธัชชัย สุมิตร อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, อดีตคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และประธานกรรมการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.).
ดู สุชาดา กีระนันทน์และธัชชัย สุมิตร
ธนาคารกสิกรไทย
นาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) (Kasikornbank Public Company Limited) เป็นธนาคารในประเทศไทย มีสำนักงานใหญ่แห่งแรกตั้งอยู่ที่ สำนักถนนเสือป่า ต่อมาได้ขยายการบริหารงาน ไปยังสำนักถนนสีลม, สำนักถนนพหลโยธิน, สำนักงานใหญ่ถนนราษฎร์บูรณะ และสำนักถนนแจ้งวัฒนะ ตามลำดับ โดยสำนักงานใหญ่แห่งปัจจุบัน ตั้งอยู่ภายในซอยกสิกรไทย ถนนราษฎร์บูรณะ เชิงสะพานพระราม 9 ฝั่งธนบุรี และมีคำขวัญว่า "บริการทุกระดับประทับใจ" ปัจจุบันมีสาขาทั้งสิ้น 1,132 สาขา และเป็นธนาคารที่มีรายได้มากที่สุดในประเทศไทย ธนาคารกสิกรไทยเป็นธนาคารพาณิชย์ที่มีนัยต่อความเสี่ยงเชิงระบบในประเทศประจำปี 2560ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สน.
ดู สุชาดา กีระนันทน์และธนาคารกสิกรไทย
คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 22 ตุลาคมพ.ศ. 2481 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเริ่มเปิด "แผนกวิชาการบัญชี" และ "แผนกวิชาพาณิชยศาสตร์" สังกัดคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จนกระทั่งวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู สุชาดา กีระนันทน์และคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประเทศไทย
ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.
ดู สุชาดา กีระนันทน์และประเทศไทย
ปริญญาเอก
ปริญญาเอก (doctorate) เป็นปริญญาวิชาการหรือวิชาชีพซึ่งในประเทศส่วนใหญ่ให้ผู้ถือมีคุณสมบัติสอนในระดับมหาวิทยาลัยในสาขาเฉพาะของปริญญานั้น หรือทำงานในวิชาชีพเฉพาะ ในบางประเทศ ปริญญาสูงสุดในสาขาหนึ่ง ๆ เรียก ปริญญาสูงสุด (terminal degree) คำว่า "doctorate" มาจากภาษาละติน docere หมายถึง "สอน".
ดู สุชาดา กีระนันทน์และปริญญาเอก
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
รงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ เป็นโรงเรียนวิทยาศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย มีฐานะเป็นองค์การมหาชน ภายใต้การกำกับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู สุชาดา กีระนันทน์และโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
โทเฟิล
ทเฟิล (Test Of English as a Foreign Language: TOEFL) เป็นการทดสอบวัดความรู้ในภาษาอังกฤษตามมาตรฐานของภาษาอังกฤษอเมริกันในทวีปอเมริกาเหนือ สำหรับนักศึกษาที่ต้องการศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย ถ้าประเทศที่ไม่ได้ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลักนักศึกษาที่มาจากประเทศอื่นจำเป็นต้องทดสอบโทเฟิลนี้ ผลคะแนนโทเฟิลมีผลเป็นเวลา 2 ปี การสอบโทเฟิลจัดทำโดย Educational Testing Service (ETS) มีครั้งแรกในปี พ.ศ.
เหรียญจักรพรรดิมาลา
หรียญจักรพรรดิมาลา ใช้อักษรย่อว่า ร...
ดู สุชาดา กีระนันทน์และเหรียญจักรพรรดิมาลา
เทียนฉาย กีระนันทน์
ตราจารย์กิตติคุณ เทียนฉาย กีระนันทน์ ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในสภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ รองประธานกรรมการมูลนิธิสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่อนเกษียณอายุราชการดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ ระดับ 11 ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.
ดู สุชาดา กีระนันทน์และเทียนฉาย กีระนันทน์
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย
รื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย (The Most Noble Order of the Crown of Thailand) เป็นตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หนึ่งใน 8 ตระกูลที่สำหรับพระราชทานแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดี ทั้งบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชน โดยการพิจารณาเสนอขอพระราชทานของรัฐบาล เพื่อเป็นบำเหน็จความชอบและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูง แก่ผู้ได้รับพระราชทาน พระราชทานทั้งบุรุษและสตรี หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แล้ว ให้ประกาศรายนามในราชกิจจานุเบกษา ปรกติแล้วจะประกาศในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ของทุกปี แยกเป็น 2 ฉบับ คือชั้นต่ำกว่าสายสะพาย และชั้นสายสะพาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้น เมื่อ..
ดู สุชาดา กีระนันทน์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์
รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ (The Most Admirable Order of the Direkgunabhorn) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู สุชาดา กีระนันทน์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก
รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก (The Most Exalted Order of the White Elephant) เป็นตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หนึ่งใน 8 ตระกูลที่สำหรับพระราชทานแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดี ทั้งบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกนี้สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชน โดยการพิจารณาเสนอขอพระราชทานของรัฐบาล เพื่อเป็นบำเหน็จความชอบและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูงแก่ผู้ได้รับพระราชทาน พระราชทานทั้งบุรุษและสตรี หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แล้ว ให้ประกาศรายนามในราชกิจจานุเบกษา ปรกติแล้วจะประกาศในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ของทุกปี แยกเป็น 2 ฉบับ คือชั้นต่ำกว่าสายสะพาย และชั้นสายสะพาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกนี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้นเมื่อ..
ดู สุชาดา กีระนันทน์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก
หรือที่รู้จักกันในชื่อ คุณหญิงสุชาดา กีระนันทน์