เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สายเฉอโก่ว

ดัชนี สายเฉอโก่ว

กา เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าสายที่ 2 ในนครเซินเจิ้น ประเทศจีน เปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม..

สารบัญ

  1. 8 ความสัมพันธ์: ระบบขนส่งมวลชนเร็วรถไฟใต้ดินเซินเจิ้นสายลัวเป่าสายหลงกั่งสายหลงหัวสายหวนจงประเทศจีนเซินเจิ้น

  2. เส้นทางรถไฟที่เปิดทำการในปี พ.ศ. 2553

ระบบขนส่งมวลชนเร็ว

รถไฟฟ้าใต้ดินในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ระบบขนส่งมวลชนเร็ว (rapid transit) หรือที่มักเรียกว่า รถไฟฟ้า รถไฟใต้ดิน (subway, underground) รถไฟในเมือง (metro) รถไฟรางหนัก (heavy rail) มักจะมีในเมืองใหญ่ที่สำคัญทั่วโลก รถไฟฟ้าใต้ดินที่เก่าแก่ที่สุดในโลกอยู่ที่กรุงลอนดอน เปิดใช้เมื่อ พ.ศ.

ดู สายเฉอโก่วและระบบขนส่งมวลชนเร็ว

รถไฟใต้ดินเซินเจิ้น

รถไฟใต้ดินเซินเจิ้น เป็นระบบขนส่งมวลชนในเมืองเซินเจิ้น ประเทศจีน เปิดให้บริการในวันที่ 28 ธันวาคม ค.ศ. 2004 เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าแห่งที่หกในประเทศจีน มีจำนวน 5 เส้นทาง 137 สถานี ระยะทาง.

ดู สายเฉอโก่วและรถไฟใต้ดินเซินเจิ้น

สายลัวเป่า

ลัวเป่า เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าสายที่ 1 ในระบบรถไฟใต้ดินเซินเจิ้น นครเซินเจิ้น ประเทศจีน สถานีปลายทางคือ สถานีหลัวหู และ สถานีสนามบินตะวันออก ความถี่ในการให้บริการ 3-6 นาที ผู้โดยสารต่อวันจำนวน 807,400 คน ซึ่งมากที่สุดในระบบ สีประจำเส้นทางคือสีเขียว แต่ขบวนรถไฟฟ้าตกแต่งด้วยสีแดง.

ดู สายเฉอโก่วและสายลัวเป่า

สายหลงกั่ง

หลงกั่ง เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าสายที่ 3 ในนครเซินเจิ้น ประเทศจีน มีสถานีปลายทาง คือ สถานีอี้เถียน และชวงหลง เปิดให้บริการวันที่ 28 ธันวาคม..

ดู สายเฉอโก่วและสายหลงกั่ง

สายหลงหัว

หลงหัว เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าสายที่ 4 ในนครเซินเจิ้น ประเทศจีน มีสถานีปลายทางคือสถานีด่านฟูเทียและสถานีชิงฮู มีจำนวนผู้โดยสาร 250,000 คน สีประจำเส้นทางคือสีแดง.

ดู สายเฉอโก่วและสายหลงหัว

สายหวนจง

หวนจง เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าสายที่ 5 ในนครเซินเจิ้น ประเทศจีน มีสถานีปลายทาง คือ สถานีเฉียนไห่วัน และสถานีหวงเป่ย์หลิ่ง เปิดให้บริการวันที่ 22 มิถุนายน..

ดู สายเฉอโก่วและสายหวนจง

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ดู สายเฉอโก่วและประเทศจีน

เซินเจิ้น

มืองเซินเจิ้น เมืองเซินเจิ้น เซินเจิ้น ตามสำเนียงจีนกลาง หรือ ซำจั่น ตามสำเนียงกวางตุ้ง หรือ ซิมจุ่ม ตามสำเนียงแต้จิ๋ว (พินอินกวางตุ้ง: sam1 zan3) เป็นหนึ่งในเขตเศรษฐกิจพิเศษของมณฑลกวางตุ้ง ประเทศจีน เมืองเซินเจิ้น (Shenzhen) เป็นเมืองชายแดนริมฝั่งตรงข้ามกับเกาะฮ่องกง มีพื้นที่ 2,020 ตารางกิโลเมตร เซินเจิ้นแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ เขตเมืองเซินเจิ้น เขตเศรษฐกิจพิเศษเซินเจิ้น และเขตมณฑลเซินเจิ้น สมัยก่อนเมืองเซินเจิ้นเป็นเพียงหมู่บ้านชาวประมง เมื่อปี..

ดู สายเฉอโก่วและเซินเจิ้น

ดูเพิ่มเติม

เส้นทางรถไฟที่เปิดทำการในปี พ.ศ. 2553

หรือที่รู้จักกันในชื่อ สายเชเกา