เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สัญญาต่างตอบแทน

ดัชนี สัญญาต่างตอบแทน

ัญญาต่างตอบแทน (synallagmatic contract, reciprocal contract, bilateral contract, multilateral contract หรือ multipartite contract) เป็นศัพท์กฎหมาย หมายถึง นิติกรรมที่มีคู่กรณีหลายฝ่ายเกี่ยวข้อง หรือที่เรียกว่า "สัญญา" และคู่สัญญาต่างฝ่ายต่างมีหน้าที่ต้่องตอบแทนกันโดยกระทำหรืองดเว้นกระทำการอย่างใด ๆ เช่น ในสัญญาซื้อขาย ผู้ซื้อมีหน้าที่ชำระราคาทรัพย์สินที่ตนซื้อ และผู้ขายก็มีหน้าที่ส่งมอบทรัพย์สินดังกล่าวให้แก่ผู้ซื้อ เป็นต้น สัญญาต่างตอบแทนมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น ทวิภาคีสัญญา, สัญญาสองฝ่าย, พหุภาคีสัญญา, สัญญาหลายฝ่าย, นิติกรรมสองฝ่าย และ นิติกรรมหลายฝ่าย ดังนั้น นิติกรรมหรือสัญญาที่ไม่ต่างตอบแทน จึงอาจเรียกว่า "นิติกรรมฝ่ายเดียว" (unilateral act) หรือ "สัญญาผูกพันฝ่ายเดียว" (unilateral contract).

สารบัญ

  1. 5 ความสัมพันธ์: กิตติศักดิ์ ปรกติสัญญา (นิติศาสตร์)ทรัพย์สินนิติกรรมโสภณ รัตนากร

  2. กฎหมายนิติกรรมและสัญญา
  3. ระบบซีวิลลอว์

กิตติศักดิ์ ปรกติ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กิตติศักดิ์ ปรกติ (เกิด 7 ธันวาคม 2499) เป็นข้าราชการชาวไทย และเป็นอาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ความเห็นแปลก.

ดู สัญญาต่างตอบแทนและกิตติศักดิ์ ปรกติ

สัญญา (นิติศาสตร์)

สัญญา หมายถึง ข้อตกลงระหว่างบุคคลสองฝ่าย (หรือหลายฝ่าย) ว่าจะกระทำการหรืองดเว้นกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง สัญญามักจะเป็นรูปแบบเอกสารลายลักษณ์อักษร ซึ่งระบุเงื่อนไขและข้อตกลงต่าง ๆ ลงท้ายด้วยลายมือชื่อของทั้งสองฝ่าย และอาจมีของพยานด้วยก็ได้ หมวดหมู่:กฎหมายนิติกรรมและสัญญา หมวดหมู่:เอกสารทางกฎหมาย.

ดู สัญญาต่างตอบแทนและสัญญา (นิติศาสตร์)

ทรัพย์สิน

ทรัพย์ (thing) หมายถึง วัตถุมีรูปร่าง ซึ่งได้แก่สิ่งที่มองเห็นได้ด้วยตา สัมผัสได้ด้วยมือ อาทิ โต๊ะ ตู้ ตั่ง เตียง ช้าง มา วัว ควาย เป็นคำมาจากคำในภาษาสันสกฤตว่า "ทฺรวฺย"ราชบัณฑิตยสถาน, 2551: ออนไลน.

ดู สัญญาต่างตอบแทนและทรัพย์สิน

นิติกรรม

"นิติกรรม" อาจหมายถึง.

ดู สัญญาต่างตอบแทนและนิติกรรม

โสภณ รัตนากร

ตราจารย์พิเศษ โสภณ รัตนากร (เกิด 15 เมษายน พ.ศ. 2474)เป็นที่ปรึกษาในศาลฎีกา ประธานศาลฎีกาคนที่ 26 อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม ฯลฯ.

ดู สัญญาต่างตอบแทนและโสภณ รัตนากร

ดูเพิ่มเติม

กฎหมายนิติกรรมและสัญญา

ระบบซีวิลลอว์

หรือที่รู้จักกันในชื่อ สัญญาสองฝ่ายสัญญาหลายฝ่ายสัญญาผูกพันฝ่ายเดียวสัญญาไม่ต่างตอบแทนนิติกรรมฝ่ายเดียวนิติกรรมหลายฝ่าย