โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สมเด็จพระสันตะปาปาเปโตรที่ 2

ดัชนี สมเด็จพระสันตะปาปาเปโตรที่ 2

มเด็จพระสันตะปาปาเปโตรที่ 2 (Pope Peter II) เป็นพระนามพระสันตะปาปาที่สมมุติขึ้น และในระยะหลังนี้ เป็นชื่อสามัญของกลุ่มเซเดวาแคนทิซึม (Sedevacantism) ที่อุปโลกน์ตัวเป็นสันตะปาป.

5 ความสัมพันธ์: สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 13สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16อัครทูตผู้อ้างตนเป็นพระสันตะปาปาซีโมนเปโตร

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 13

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 13 สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 13 (Benedict XII) มีพระนามเดิมว่า ปีเอโตร ฟรันเชสโก ออร์ซีนี (Pietro Francesco Orsini) ประสูติวันที่ 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1649 ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1724 จนกระทั่งสิ้นพระชนม์วันที่ 21 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1730 รวมพระชนมายุได้ 81 พรรษา เมื่อทรงปฏิญาณตนเป็นไฟรเออร์คณะดอมินิกัน มีพระนามฉายาว่า วินเซนโซ มาเรีย ออร์ซีนี (Vincenzo Maria Orsini) เคยดำรงตำแหน่งอาร์ชบิชอปแห่งมันเฟรโดเนีย อาร์ชบิชอปแห่งเซเซนา และอาร์ชบิชอปแห่งเบเนเวนโต ก่อนขึ้นดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปา หลังจากสิ้นพระชนม์ทรงได้รับแต่งตั้งเป็นผู้รับใช้พระเป็นเจ้า หมวดหมู่:ผู้รับใช้พระเป็นเจ้า หมวดหมู่:ตระกูลออร์ซินี หมวดหมู่:พระสันตะปาปาชาวอิตาลี หมวดหมู่:พระสันตะปาปาที่เป็นสมาชิกคณะดอมินิกัน หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นปุลยา.

ใหม่!!: สมเด็จพระสันตะปาปาเปโตรที่ 2และสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 13 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16

มเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16 (Benedictus XVI, Benedict XVI) พระสันตะปาปากิตติคุณ อดีตประมุขคริสตจักรโรมันคาทอลิก เป็นชาวเยอรมัน มีพระนามเดิมว่า โยเซฟ รัทซิงเงอร์ (Joseph Ratzinger) เกิดเมื่อ 16 เมษายน พ.ศ. 2470 (ค.ศ. 1927).

ใหม่!!: สมเด็จพระสันตะปาปาเปโตรที่ 2และสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16 · ดูเพิ่มเติม »

อัครทูต

ระเยซูและอัครทูต อัครทูตราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 59 (Apostles; Ἀπόστολος, apostolos แปลว่า "ผู้ถูกส่งออกไป" เช่น ข่าวสารหรือตัวแทน) ตามพระวรสารสหทรรศน์และธรรมเนียมทางศาสนาคริสต์ใช้หมายถึงอัครสาวกสิบสองคน ที่พระเยซูทรงเลือก ตั้งชื่อ และฝึกเพื่อจะได้ส่งออกไปทำการประกาศข่าวดี หลังจากยูดาส อิสคาริโอท ทรยศต่อพระเยซู อัครสาวกที่เหลือภายใต้การนำของซีโมนเปโตรจึงจับฉลากเลือกมัทธีอัสซึ่งติดตามพระเยซูมาตั้งต้นขึ้นมาเป็นอัครทูตแทน ฉะนั้นเมื่อถึงเทศกาลเพนเทคอสต์ที่พระวิญญาณบริสุทธิ์เสด็จลงมาประทับกับสาวกของพระเยซู จำนวนอัครทูตจึงมีสิบสองคนเท่าเดิม.

ใหม่!!: สมเด็จพระสันตะปาปาเปโตรที่ 2และอัครทูต · ดูเพิ่มเติม »

ผู้อ้างตนเป็นพระสันตะปาปา

ผู้อ้างตนเป็นพระสันตะปาปา หรือ พระสันตะปาปาซ้อน (antipope) หมายถึง พระคาร์ดินัลที่อ้างตนเป็นพระสันตะปาปา ประมุขแห่งคริสตจักรโรมันคาทอลิกอย่างไม่ถูกต้อง จึงเป็นปรปักษ์ของพระสันตะปาปาพระองค์จริงที่ได้รับเลือกมาอย่างถูกต้องตามกฎหมายศาสนจักร การกล่าวหาบุคคลใดเป็นว่าพระสันตะปาปาซ้อนนั้นค่อนข้างสับสน เนื่องจากนักวิชาการในคริสตจักรโรมันคาทอลิกเองยังมีความเห็นไม่สอดคล้องกัน ผู้ถูกกล่าวหาว่าเป็นพระสันตะปาปาซ้อนในสมัยหนึ่ง จึงอาจได้รับการยอมรับรับว่าเป็นพระสันตะปาปาถูกต้องในสมัยหลังก็ได้ เช่น สมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 3 ช่วงเวลาที่มีพระสันตะปาปาซ้อนเกิดขึ้นต่อเนื่องยาวนานที่สุดคือช่วงที่เกิดศาสนเภทตะวันตกตั้งแต..

ใหม่!!: สมเด็จพระสันตะปาปาเปโตรที่ 2และผู้อ้างตนเป็นพระสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

ซีโมนเปโตร

ซีโมนเปโตร (Σιμων Πέτρος ซีมอน เปโตฺรส) หรืออัครทูตเปโตร (Απόστολος Πέτρος อะโปสโตโลส เปโตฺรส) ชาวคาทอลิกเรียกว่านักบุญเปโตร (Saint Peter) เดิมชื่อซีโมน เป็นชาวประมงคนหนึ่งของตำบลเบทไซดา (ลก. 5:3;ยน.1:44) แต่ว่าต่อมาได้ย้ายมาตั้งหลักแหล่งที่เมืองคาร์เปอร์นาอุม (มก. 1: 21.29) นักบุญอันดรูว์ น้องชายของท่านได้เป็นคนแนะนำให้ท่านติดตามพระเยซู (ยน. 1:42) และอาจเป็นนักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมาที่ได้เป็นผู้ตระเตรียมจิตใจของท่านสำหรับการพบปะครั้งสำคัญของท่านกับพระเยซู พระเยซูทรงได้เปลี่ยนชื่อท่านใหม่ว่าเปโตร ซึ่งแปลว่า "ศิลา" (มธ. 16: 17-19) ครั้งหนึ่งพระเยซูตรัสถามท่านว่า "ท่านคิดว่าเราเป็นใคร" และเปโตรได้ทูลว่า "พระองค์คือพระคริสต์ พระบุตรพระเป็นเจ้า" พระเยซูจึงตรัสว่า "เราจะตั้งเราเป็นหัวหน้าแทนท่าน ทั้งจะมอบกุญแจอาณาจักรสวรรค์" (มธ. 16: 15-19) สัญลักษณ์ที่เห็นเด่นชัดในภาพคือ มือของท่านมีลูกกุญแจ เปโตรเป็นพยานบุคคลผู้หนึ่งที่ได้แลเห็นพระคูหาว่างเปล่าของพระอาจารย์ (ยน. 20:6) และได้เห็นการคืนพระชนม์ของพระเยซู (ลก. 23:34) หลังจากที่พระเยซูเสด็จขึ้นสู่สวรรค์แล้ว ท่านก็ทำหน้าที่เป็นผู้นำบรรดาคริสตชน (กจ. 1: 15; 15:7) ได้กล่าวสรุปข่าวดี (พระวรสาร) (กจ. 2:14-41) และท่านเองเป็นคนแรกที่เห็นความจำเป็นที่จะต้องเปิดคริสตจักรไปสู่พวกคนต่างชาติ (กจ.10-11) เปโตรเขียนจดหมาย 2 ฉบับที่ทรงคุณค่าอย่างมากคือ 1 และ 2 เปโตร ท้ายที่สุดเปโตรได้เสียสละชีวิตเพื่อพระเยซูตามคำทำนายของพระองค์ (ยน 21.18-19) ภารกิจด้านวิญญาณที่ได้รับมอบหมายมิใช่ว่าจะช่วยให้ท่านหมดจากสภาพของความเป็นคนหรือจากข้อบกพร่องต่าง ๆ ทางอารมณ์ก็หาไม่ (มธ.10: 41; 14:26,66-72; ยน. 13: 6;18:10; มธ. 14: 29-31) เปาโลอัครทูตเองก็มิได้ลังเลใจแต่อย่างใดที่จะพูดจาต่อว่าท่านเวลาที่พบกันที่เมืองแอนติออก (กจ.15; กท. 2:11-14) เพื่อเชิญชวนท่านว่าไม่ต้องปฏิบัติตามแบบของพวกยิว ในเรื่องนี้รู้สึกว่าเปโตร ยังตัดสินใจช้าและยังถือว่ากลุ่มคริสตชนซึ่งเดิมทีเป็นคนต่างศาสนาก็ยังด้อยกว่าหรือเป็นรองกลุ่มคริสตชนที่เดิมทีเป็นชาวยิว (กจ. 6: 1-2) ต่อเมื่อเปโตรได้มาที่กรุงโรม เมื่อนั้นแหละท่านจึงจะได้กลายเป็นอัครทูตของทุก ๆ คน และได้ทำหน้าที่ของท่านอย่างครบถ้วนคือเป็น "ศิลาหัวมุม" ของคริสตจักรของพระเยซูโดยรวมชาวยิวและคนต่างศาสนาให้เข้ามาอยู่ภายในอาคารเดียวกัน และท่านได้ประทับตราภารกิจหน้าที่นี้ด้วยการหลั่งโลหิตของท่านตามแบบพระอาจารย์ คริสตจักรโรมันคาทอลิกถือว่าท่านเป็นพระสันตะปาปาองค์แรก ท่านถูกจับตรึงกางเขน และได้ขอร้องให้หันศีรษะท่านลง เพราะคิดว่าไม่สมควรที่จะตายในลักษณะเดียวกับพระเยซูผู้เป็นพระอาจาร.

ใหม่!!: สมเด็จพระสันตะปาปาเปโตรที่ 2และซีโมนเปโตร · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Pope Peter 2Pope Peter IIสมเด็จพระสันตะปาปาปีเตอร์ที่ 2พระสันตะปาปาองค์สุดท้ายพระสันตะปาปาปีเตอร์ที่ 2โป๊ปปีเตอร์ที่ 2

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »