เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกส

ดัชนี สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกส

มเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกส (17 ธันวาคม พ.ศ. 2277 - 20 มีนาคม พ.ศ. 2359,พระนามเต็ม: มารีอา ฟรานซิสกา อิซาเบล โจเซฟา แอนโทเนีย เจอร์ทรูด ริตา ฮวนนา) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งโปรตุเกสและแอลการ์ฟ ตั้งแต..

สารบัญ

  1. 44 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2277พ.ศ. 2293พ.ศ. 2320พ.ศ. 235พ.ศ. 2359พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระเจ้ามิเกลแห่งโปรตุเกสพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าฌูเอาที่ 4 แห่งโปรตุเกสพระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกสพระเจ้าฌูเซที่ 1 แห่งโปรตุเกสพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรพระเจ้าเฟลีเปที่ 5 แห่งสเปนพระเจ้าเปดรูที่ 2 แห่งโปรตุเกสพระเจ้าเปดรูที่ 3 แห่งโปรตุเกสการ์โลตา โคอากีนาแห่งสเปน สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกสภาวะสมองเสื่อมมารีอา อิซาเบลแห่งโปรตุเกส สมเด็จพระราชินีแห่งสเปนราชอาณาจักรโปรตุเกสรายพระนามพระมหากษัตริย์โปรตุเกสรีโอเดจาเนโรลิสบอนสหราชอาณาจักรโปรตุเกส บราซิล และแอลการ์ฟสงครามคาบสมุทรสงครามนโปเลียนอาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตันอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)จักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 3 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิเปดรูที่ 1 แห่งบราซิลประเทศบราซิลประเทศกายอานาประเทศโปรตุเกสนโปเลียนแผ่นดินไหวในลิสบอน พ.ศ. 2298โรมันคาทอลิกโรคซึมเศร้าเอลิซาเบธ ฟาร์เนเซ สมเด็จพระราชินีแห่งสเปนเจ้าชายฟรังซิชกู อังตอนีอูแห่งไบราเจ้าหญิงอิซาเบล มารีอาแห่งโปรตุเกส16 ธันวาคม17 ธันวาคม20 มีนาคม24 กุมภาพันธ์

  2. ดยุกแห่งบรากันซา
  3. บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2277
  4. บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2359
  5. พระมหากษัตริย์บราซิล
  6. ราชวงศ์บรากังซา
  7. ราชวงศ์บราซิล

พ.ศ. 2277

ทธศักราช 2277 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและพ.ศ. 2277

พ.ศ. 2293

ทธศักราช 2293 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและพ.ศ. 2293

พ.ศ. 2320

ทธศักราช 2320 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและพ.ศ. 2320

พ.ศ. 235

ทธศักราช 235 ใกล้เคียงกับ ก่อน คริสต์ศักราช 309.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและพ.ศ. 235

พ.ศ. 2359

ทธศักราช 2359 ใกล้เคียงกั.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและพ.ศ. 2359

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

พระเจ้ามิเกลแห่งโปรตุเกส

มเด็จพระเจ้ามิเกลที่ 1 แห่งโปรตุเกส (ภาษาอังกฤษ: Michael I; 26 ตุลาคม พ.ศ. 2345 ในลิสบอน - 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2409 ในชลูส์ คาร์ลส์โฮเฮ, บาวาเรีย) ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า "ผู้สมบูรณาญาสิทธิ์" (the Absolutist; ภาษาโปรตุเกส:o Absolutista) หรือ "ผู้อนุรักษนิยม" (the Traditionalist; ภาษาโปรตุเกส:o Tradicionalista) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรโปรตุเกสระหว่างปี..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและพระเจ้ามิเกลแห่งโปรตุเกส

พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 14 (Louis XIV de France; หลุยส์กาโตร์ซเดอฟร็องส์, 5 กันยายน พ.ศ. 2181 – 1 กันยายน พ.ศ. 2258) หรือเรียกว่า หลุยส์มหาราช (Louis le Grand; หลุยส์ เลอ กร็อง) หรือ สุริยกษัตริยาธิราช (le Roi Soleil) เป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสและนาวาร์ ทรงครองราชย์เมื่อมีพระชนมายุได้เพียง 5 ชันษา เป็นกษัตริย์พระองค์ที่ 3 ของราชวงศ์บูร์บงแห่งราชวงศ์กาเปเตียง เสวยราชสมบัติเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าฌูเอาที่ 4 แห่งโปรตุเกส

ระเจ้าฌูเอาที่ 4 แห่งโปรตุเกส (João IV de Portugal, 18 มีนาคม ค.ศ. 1603 - 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1656) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งโปรตุเกสและอัลการ์เวส (King of Portugal and the Algarves) ในราชวงศ์บรากานซา เป็นพระนัดดาของแคเทอรีน ดัชเชสแห่งบรากานซา ผู้ได้ประกาศอ้างสิทธิในราชบัลลังก์โปรตุเกสและกลายเป็นชนวนสงครามชิงราชสมบัติใน ค.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและพระเจ้าฌูเอาที่ 4 แห่งโปรตุเกส

พระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกส

ระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกส (Dom João VI de Portugal, ออกเสียง) มีพระนามเต็มว่า ฌูเอา มารีอา ฌูเซ ฟรังซิชกู ชาวีเอร์ ดึ เปาลา ลูอิช อังตอนีอู ดูมิงกุช ราฟาเอล ดึ บรากังซา (João Maria José Francisco Xavier de Paula Luís António Domingos Rafael de Bragança; 13 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและพระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกส

พระเจ้าฌูเซที่ 1 แห่งโปรตุเกส

ระเจ้าฌูเซที่ 1 แห่งโปรตุเกส ผู้ปฏิรูป (6 มิถุนายน พ.ศ. 2257 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2320; José Francisco António Inácio Norberto Agostinho de Bragança, ฌูเซ ฟรานซิสโก อันโตเนียว อินาซิโอ นอร์เบอโต อโกสตินโน เดอ บรากังซา) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ลำดับที่ 25 แห่งโปรตุเกสและอัลเกรฟ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและพระเจ้าฌูเซที่ 1 แห่งโปรตุเกส

พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร (George III of the United Kingdom) (4 มิถุนายน ค.ศ. 1738 – 29 มกราคม ค.ศ. 1820) เป็นพระมหากษัตริย์ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และราชอาณาจักรไอร์แลนด์สมัยราชวงศ์แฮโนเวอร์ ระหว่างวันที่ 25 ตุลาคม..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร

พระเจ้าเฟลีเปที่ 5 แห่งสเปน

ระเจ้าเฟลีเปที่ 5 แห่งสเปน (Felipe V de España, Philip V II of Spain, filippo v di spagna, philippe v roi d'espagne) (19 ธันวาคม ค.ศ. 1683 - 9 กรกฎาคม ค.ศ. 1746) เป็นพระราชโอรสของเจ้าชายหลุยส์ โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส และดัชเชสมาเรีย อันนา วิกตอเรียแห่งบาวาเรีย ประสูติ ณ พระราชวังแวร์ซายส์ และเป็นพระราชนัดดาใน พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ทรงขึ้นครองราชย์ ในปี..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและพระเจ้าเฟลีเปที่ 5 แห่งสเปน

พระเจ้าเปดรูที่ 2 แห่งโปรตุเกส

ระเจ้าเปดรูที่ 2 แห่งโปรตุเกส (โปรตุเกส: Pedro II) (26 เมษายน ค.ศ. 1648 – 9 ธันวาคม ค.ศ. 1706) ทรงเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ค.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและพระเจ้าเปดรูที่ 2 แห่งโปรตุเกส

พระเจ้าเปดรูที่ 3 แห่งโปรตุเกส

ระเจ้าเปดรูที่ 3 แห่งโปรตุเกส (ภาษาโปรตุเกส: Pedro Clemente Francisco José António de Bragança เปดรู คลีเมนที ฟรันซิสกู โจเซ อันโตเนียว ดือ บรากันซา, ประสูติ 5 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและพระเจ้าเปดรูที่ 3 แห่งโปรตุเกส

การ์โลตา โคอากีนาแห่งสเปน สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส

้าหญิงการ์โลตา โคอากีนาแห่งสเปน (Doña Carlota Joaquina; 25 เมษายน พ.ศ. 2318 - 7 มกราคม พ.ศ. 2373) ทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งสเปนเมื่อครั้งประสูติและหลังจากนั้นทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส เป็นพระราชธิดาองค์โตในพระเจ้าการ์โลสที่ 4 แห่งสเปนกับเจ้าหญิงมาเรีย ลุยซาแห่งปาร์มา และพระนางเป็นพระมเหสีในพระเจ้าโจเอาที่ 6 แห่งโปรตุเก.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและการ์โลตา โคอากีนาแห่งสเปน สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส

ภาวะสมองเสื่อม

วะสมองเสื่อม หรือ โรคสมองเสื่อม (มาจากภาษาละติน de- "ออกไป" และ mens มาจาก mentis "จิตใจ") เป็นภาวะการเสื่อมถอยของหน้าที่การรับรู้อันเนื่องมาจากความเสียหายหรือโรคที่เกิดในสมองซึ่งมักเกิดจากการเสื่อมถอยไปตามอายุ แม้ว่าภาวะสมองเสื่อมจะเกิดขึ้นโดยปกติในประชากรผู้สูงอายุ แต่ก็อาจเกิดขึ้นได้ในผู้ใหญ่ในทุกระยะ สำหรับกลุ่มอาการที่คล้ายคลึงกันอันเนื่องมาจากหน้าที่ของสมองผิดปกติในประชากรที่อายุน้อยกว่าวัยผู้ใหญ่จะเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ความผิดปกติในพัฒนาการ (developmental disorders) ภาวะสมองเสื่อมเป็นกลุ่มอาการที่ไม่จำเพาะซึ่งเกิดจากความเสื่อมของการรับรู้ไม่ว่าจะเป็นความจำ, ความใส่ใจ, ภาษา, และการแก้ปัญหา ซึ่งหน้าที่การรับรู้ในระดับสูงจะได้รับผลกระทบก่อน ในระยะท้ายๆ ของภาวะสมองเสื่อมผู้ป่วยจะมีอาการไม่รับรู้เวลา (ไม่รู้ว่าเป็นวัน เดือน หรือปีอะไร) สถานที่ (ไม่รู้ว่ากำลังอยู่ที่ไหน) และบุคคล (ไม่รู้จักบุคคลว่าเป็นใคร) กลุ่มอาการของภาวะสมองเสื่อมนั้นจัดแบ่งออกได้เป็นประเภทย้อนกลับได้ และย้อนกลับไม่ได้ ซึ่งขึ้นกับสมุฏฐานโรค (etiology) ผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมน้อยกว่าร้อยละ 10 ซึ่งสามารถกลับมาเป็นปกติหลังจากการรักษาได้ สาเหตุของโรคเกิดจากการดำเนินโรคที่จำเพาะที่แตกต่างกัน เช่นเดียวกับการทำหน้าที่ผิดปรกติของอวัยวะอื่นๆ เช่น อาการหายใจสั้น, ดีซ่าน, หรืออาการปวดซึ่งเกิดมาจากสมุฏฐานต่างๆ กัน หากแพทย์เก็บประวัติผู้ป่วยได้ไม่ดีอาจทำให้สับสนกับกลุ่มอาการเพ้อ (delirium) เนื่องจากมีอาการแสดงที่คล้ายคลึงกันมาก อาการป่วยทางจิต (mental illness) บางชนิด เช่น ภาวะซึมเศร้า (depression) และโรคจิต (psychosis) อาจทำให้เกิดอาการแสดงซึ่งต้องแยกออกจากภาวะสมองเสื่อมและอาการเพ้อ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและภาวะสมองเสื่อม

มารีอา อิซาเบลแห่งโปรตุเกส สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน

้าหญิงมารีอา อิซาเบลแห่งโปรตุเกส (มารีอา อิซาเบล ฟรานซิสกา; 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2340 - 26 ธันวาคม พ.ศ. 2361) ทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งโปรตุเกสและหลังจากนั้นทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งสเปน โดยเป็นพระมเหสีพระองค์ที่สองในพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 7 แห่งสเปน.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและมารีอา อิซาเบลแห่งโปรตุเกส สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน

ราชอาณาจักรโปรตุเกส

ราชอาณาจักรโปรตุเกส (Kingdom of Portugal; Reino de Portugal) เป็นอาณาจักรภายใต้การปกครองของพระมหากษัตริย์แห่งโปรตุเกส ราชอาณาจักรตั้งอยู่ทางตะวันตกของคาบสมุทรไอบีเรียของยุโรป และรุ่งเรืองระหว่างปี ค.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและราชอาณาจักรโปรตุเกส

รายพระนามพระมหากษัตริย์โปรตุเกส

รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งโปรตุเกส พระอิศริยยศเริ่มขึ้นตั้งแต่โปรตุเกสประกาศอิสรภาพจากราชอาณาจักรเลออน ภายใต้การนำของอัลฟอนโซ เฮนริเก ผู้ซึ่งประกาศตั้นตนเป็นกษัตริย์แห่งโปรตุเกสในปี..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและรายพระนามพระมหากษัตริย์โปรตุเกส

รีโอเดจาเนโร

รีโอเดจาเนโร (Rio de Janeiro) หรือ รีอูจีฌาเนย์รู (เสียงอ่านภาษาโปรตุเกส) มีความหมายว่า "แม่น้ำเดือนมกราคม") หรือมักเรียกโดยย่อว่า รีโอ (Rio) เป็นเมืองหลวงของรัฐรีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล โดยเป็นเมืองที่กล่าวขานกันว่างดงามที่สุดแห่งหนึ่งในโลก และเป็นที่รู้จักในด้านการท่องเที่ยว โดยเฉพาะชายหาดกอปากาบานา (Copacabana) และอีปาเนมา (Ipanema) เทศกาลรื่นเริงประจำปีของบราซิล และรูปปั้นพระเยซูขนาดใหญ่ที่รู้จักในชื่อ กริชตูเรเดงโตร์ บนยอดเขากอร์โกวาดู รีโอเดจาเนโรตั้งอยู่ที่ละติจูด 22 องศา 54 ลิปดาใต้ และลองจิจูด 43 องศา 14 ลิปดาตะวันตก รีโอมีประชากรประมาณ 6,150,000 (..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและรีโอเดจาเนโร

ลิสบอน

ลิสบอน ลิสบอน (Lisbon) หรือ ลิชบัว (Lisboa) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศโปรตุเกส ตัวเมืองลิสบอนมีประชากร 564,657 คน ถ้ารวมเขตที่อยู่อาศัยโดยรอบด้วยจะมีประชากรประมาณ 2,760,723 คน (ข้อมูลปี 2005) ลิสบอนตั้งอยู่ทิศตะวันตกของประเทศ ริมชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกของคาบสมุทรไอบีเรีย การที่ลิสบอนตั้งอยู่ทางใต้ของทวีปยุโรปและติดกับมหาสมุทร จึงได้รับอิทธิพลจากกระแสน้ำกัลฟ์สตรีม ทำให้ลิสบอนเป็นเมืองหลวงที่มีภูมิอากาศอบอุ่นที่สุดในยุโรป.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและลิสบอน

สหราชอาณาจักรโปรตุเกส บราซิล และแอลการ์ฟ

หราชอาณาจักรโปรตุเกส บราซิล และแอลการ์ฟ (United Kingdom of Portugal, Brazil and the Algarves) เป็นราชาธิปไตยแบบพหุทวีป (pluricontinental) ได้สถาปนาขึ้นโดยการยกระดับอาณานิคมของโปรตุเกสคือ รัฐบราซิล ให้เป็นราชอาณาจักรและโดยสหภาพร่วมกันของราชอาณาจักรบราซิลและราชอาณาจักรโปรตุเกสและราชอาณาจักรแอลการ์ฟเป็นการสถาปนารัฐเดี่ยวที่รวมสามราชอาณาจักรเข้าด้วยกัน สหราชอาณาจักรโปรตุเกส บราซิล และแอลการ์ฟได้มีการสถาปนาขึ้นในปี..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและสหราชอาณาจักรโปรตุเกส บราซิล และแอลการ์ฟ

สงครามคาบสมุทร

งครามคาบสมุทร (Peninsular War) เป็นความขัดแย้งทางทหารระหว่างจักรวรรดิฝรั่งเศสของนโปเลียนกับฝ่ายพันธมิตรอันประกอบด้วยสหราชอาณาจักร, สเปน และ โปรตุเกส เพื่อแย่งชิงคาบสมุทรไอบีเรียในช่วงสงครามนโปเลียน สงครามเริ่มขึ้นเมื่อนายพลฌ็อง-อ็องด็อชแห่งฝรั่งเศสและกองทหารในบัญชาที่ยืมมาจากสเปน อาศัยช่วงที่โปรตุเกสขาดแคลนกำลัง เข้ารุกรานและยึดครองโปรตุเกสในปลายปี..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและสงครามคาบสมุทร

สงครามนโปเลียน

งครามนโปเลียน (Napoleonic Wars, Guerres napoléoniennes) เป็นสงครามต่อเนื่องที่เกี่ยวข้องกับจักรวรรดิฝรั่งเศสของนโปเลียน และพันธมิตรต่าง ๆ ของยุโรป และฝ่ายพันมิตรต่อต้านที่เริ่มขึ้นราว..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและสงครามนโปเลียน

อาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตัน

อมพล อาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตัน (Arthur Wellesley, 1st Duke of Wellington) เป็นทหารและรัฐบุรุษ และเป็นหนึ่งในผู้กำหนดนโยบายทางการทหารและการเมืองของอังกฤษในศตวรรษที่ 19 เขาสามารถมีชัยเหนือนโปเลียนแห่งฝรั่งเศสได้ในยุทธการที่วอเตอร์ลูในปี 1815 ซึ่งทำให้เขากลายเป็นวีรบุรุษที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของกองทัพอังกฤษ และมีสมญานามว่า ดยุกเหล็ก ทั้งนี้ ในปี 2002 ชื่อของเขาอยู่ในอันดับ 15 ของชาวอังกฤษผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดหนึ่งร้อยลำดับ เกิดที่ดับลินในไอร์แลนด์ เริ่มจากการเป็นนายธงในกองทัพอังกฤษในปี 1787 โดยประจำการในไอร์แลนด์ในฐานะทหารคนสนิทของข้าหลวงใหญ่แห่งไอร์แลนด์ นอกจากนี้ยังได้รับเลือกให้เป็นสมาชิกสภาสามัญชน (สภาล่าง) ของไอร์แลนด์ และดำรงยศเป็นพันเอกในปี 1796 โดยเข้าร่วมราชการสงครามในเนเธอร์แลนด์ในช่วงสงครามมหาสัมพันธมิตรครั้งที่หนึ่ง และในอินเดียในช่วงสงครามอังกฤษ-ไมซอร์ครั้งที่สี่ และจึงได้รับแต่งตั้งเป็นข้าหลวงประจำศรีรังคปัฏนาและไมซอร์ในปี 1799 และต่อมาจึงได้รับแต่งตั้งเป็นพลตรีภายหลังชัยชนะเหนือจักรวรรดิมราฐาในปี 1803 เวลสลีย์เป็นผู้บัญชาการศึกคาบสมุทรในสงครามนโปเลียน และได้รับการเลื่อนขึ้นขึ้นเป็นจอมพลภายหลังสามารถนำกองทัพพันธมิตรมีชัยเหนือฝรั่งเศสได้ในยุทธการที่วิกตอเรียในปี 1813 ซึ่งตามมาด้วยการเนรเทศนโปเลียนในปีต่อมา เวลสลีย์เข้ารับตำแหน่งเป็นราชทูตประจำฝรั่งเศส และได้รับบรรดาศักดิ์เป็นดยุก ต่อมาระหว่างสมัยร้อยวันในปี 1815 กองทัพพันธมิตรของเขาร่วมกับกองทัพปรัสเซียที่นำโดยพลโทบลือเชอร์ มีชัยเหนือนโปเลียนในยุทธการที่วอเตอร์ลู ชีวิตทหารของเขานั้นเป็นที่น่ายกย่องอย่างยิ่ง จากรายงานราชการสงคราม ตลอดชีวิตทหารของเขาได้ผ่านศึกสงครามมากว่า 60 ครั้ง เขามีชื่อเสียงขึ้นมาจากการปรับตัวและใช้กลยุทธ์ในการตั้งรับข้าศึกจนสามารถมีชัยนับครั้งไม่ถ้วนเหนือข้าศึกที่มีกำลังเหนือกว่า ในขณะที่ตัวเขาเองก็ได้รับบาดเจ็บน้อยมาก เขาจึงได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในผู้บัญชาฝ่ายตั้งรับตลอดกาล กลยุทธ์และแผนการรบของเขาจำนวนมากถูกนำไปสอนในวิทยาลัยการทหารชั้นนำของโลก ภายหลังออกจากราชการทหาร เขาก็กลับคืนสู่งานการเมือง โดยได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรสองสมัยโดยสังกัดพรรคทอรี ระหว่างปี 1828 ถึง 1830 และอีกครั้งเป็นช่วงเวลาไม่ถึงเดือนในปี 1834 ต่อมาเขาได้ดำรงตำแหน่งผู้นำในสภาขุนนาง จนกระทั่งเกษียณอายุแต่ยังคงเป็นผู้บัญชาการกองทัพอังกฤษจนกระทั่งถึงแก่อสัญกรรม.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและอาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตัน

อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)

ราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ เป็นราชอาณาจักรที่สี่ในยุคประวัติศาสตร์ของไทย เริ่มตั้งแต่การย้ายเมืองหลวงจากฝั่งกรุงธนบุรี มายังกรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เมื่อวันที่ 6 เมษายน..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)

จักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 3 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

มเด็จพระจักรพรรดิเฟอร์ดินานด์ที่ 3 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Ferdinand III, Holy Roman EmperorFerdinand III, Holy Roman EmperorFerdinand III, Holy Roman Emperor) (13 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและจักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 3 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

จักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิเลโอโปลด์(หรือลีโอโพลด์) ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Leopold Ignaz Joseph Balthasar Felician, Leopold I, Holy Roman Emperor) (9 มิถุนายน ค.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและจักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

จักรพรรดิเปดรูที่ 1 แห่งบราซิล

ักรพรรดิเปดรูที่ 1 แห่งบราซิล (Pedro I, Peter I; 12 ตุลาคม พ.ศ. 2341 – 24 กันยายน พ.ศ. 2377) มีพระราชสมัญญาว่า "ผู้ปลดปล่อย" (the Liberator) ทรงเป็นผู้สถาปนาและผู้ปกครองจักรวรรดิบราซิลพระองค์แรก ทรงดำรงเป็น พระเจ้าเปดรูที่ 4 แห่งโปรตุเกส (Dom Pedro IV) จากการครองราชบัลลังก์เหนือราชอาณาจักรโปรตุเกสเพียงระยะเวลาสั้น ๆ ที่ซึ่งทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า "ผู้ปลดปล่อย" และ "กษัตริย์นักรบ" (the Soldier King) ประสูติในกรุงลิสบอน พระองค์เป็นพระราชบุตรพระองค์ที่ 4 ในบรรดาพระราชบุตรทั้งหมดของพระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกสกับเจ้าหญิงคาร์ลอตา โจวควินาแห่งสเปน สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส ดังนั้นพระองค์ทรงเป็นพระบรมวงศานุวงศ์แห่งราชวงศ์บราแกนซา เมื่อประเทศโปรตุเกสถูกกองทัพฝรั่งเศสโจมตีในปี..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและจักรพรรดิเปดรูที่ 1 แห่งบราซิล

ประเทศบราซิล

ราซิล (Brazil; Brasil) หรือชื่อทางการว่า สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล (Federal Republic of Brazil; República Federativa do Brasil) เป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดและมีประชากรมากที่สุดในทวีปอเมริกาใต้ และเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ 5 ของโลก มีพื้นที่กว้างขวางระหว่างตอนกลางของทวีปอเมริกาใต้และ มหาสมุทรแอตแลนติก มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศอุรุกวัย อาร์เจนตินา ปารากวัย โบลิเวีย เปรู โคลอมเบีย เวเนซุเอลา กายอานา ซูรินาม และแคว้นเฟรนช์เกียนาของฝรั่งเศส (ติดกับทุกประเทศในทวีปอเมริกาใต้ ยกเว้นเอกวาดอร์และชิลี) ชื่อ "บราซิล" มาจากต้นไม้ชนิดหนึ่งที่มีชื่อว่า บราซิลวูด (Pau-Brasil ในภาษาโปรตุเกส) ซึ่งนำไปใช้ย้อมผ้าด้วยสีแดงจากเปลือกไม้ของมัน บราซิลเป็นดินแดนแห่งเกษตรกรรมและป่าเขตร้อน การที่บราซิลมีทรัพยากรธรรมชาติที่มากมายและมีแรงงานเป็นจำนวนมาก ทำให้เป็นประเทศที่มีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) สูงที่สุดในทวีปอเมริกาใต้ (สูงเป็นอันดับที่ 10 ของโลก) และเป็นผู้นำทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคในปัจจุบัน บราซิลใช้ภาษาโปรตุเกสเป็นภาษาทางการ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและประเทศบราซิล

ประเทศกายอานา

กายอานา (Guyana) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสหกรณ์กายอานา (Co-operative Republic of Guyana) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่แถบชายฝั่งทางตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต้ ประกอบไปด้วยภาคตะวันตกซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแคว้นกายอานา (ภาษาของชาวเผ่าอินเดียนแดงในอเมริกา หมายถึง ดินแดนแห่งน้ำหลาก) พรมแดนด้านตะวันออกจรดประเทศซูรินาม พรมแดนด้านใต้ติดกับประเทศบราซิล พรมแดนด้านตะวันตกติดกับเวเนซุเอลา และด้านเหนือติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก มีปัญหาพิพาทเรื่องพรมแดนกับเวเนซุเอลา เช่นเดียวกันกับพรมแดนด้านใต้ส่วนใหญ่ที่ติดกับซูรินาม (ตลอดแนวชายฝั่งตอนบนของแม่น้ำโกรันไตน์).

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและประเทศกายอานา

ประเทศโปรตุเกส

ปราสาทแห่งกีมารานช์ (Castle of Guimarães) ที่ถูกสร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถือเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของประเทศโปรตุเกส เรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า "ต้นกำเนิดของโปรตุเกส" ศึกแห่งเซามาเมเด (São Mamede) เกิดขึ้นใกล้ๆ กับที่นี่ในปี พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและประเทศโปรตุเกส

นโปเลียน

นโปเลียน อาจหมายถึง.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและนโปเลียน

แผ่นดินไหวในลิสบอน พ.ศ. 2298

แผ่นดินไหวที่ลิสบอน..

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและแผ่นดินไหวในลิสบอน พ.ศ. 2298

โรมันคาทอลิก

ระศาสนจักรคาทอลิก (Catholic Church) หรือ คริสตจักรโรมันคาทอลิก (Roman Catholic Church) เป็นคริสตจักรที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งมีศาสนิกชนกว่าพันล้านคน มีพระสันตะปาปาเป็นประมุข มีพันธกิจหลักคือ การประกาศข่าวดีเรื่องพระเยซูคริสต์ โปรดศีลศักดิ์สิทธิ์ และปฏิบัติกิจเมตตา ศาสนจักรคาทอลิกเป็นสถาบันที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์อารยธรรมตะวันตกO'Collins, p.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและโรมันคาทอลิก

โรคซึมเศร้า

รคซึมเศร้า (major depressive disorder ตัวย่อ MDD) เป็นความผิดปกติทางจิตซึ่งทำให้ผู้ป่วยเกิดอารมณ์ซึมเศร้าอย่างน้อย 2 สัปดาห์ในแทบทุกสถานการณ์ มักเกิดร่วมกับการขาดความภูมิใจแห่งตน การเสียความสนใจในกิจกรรมที่ปกติทำให้เพลิดเพลินใจ อาการไร้เรี่ยวแรง และอาการปวดซึ่งไม่มีสาเหตุชัดเจน ผู้ป่วยอาจมีอาการหลงผิดหรือมีอาการประสาทหลอน ผู้ป่วยบางรายมีช่วงเวลาที่มีอารมณ์ซึมเศร้าห่างกันเป็นปี ๆ ส่วนบางรายอาจมีอาการตลอดเวลา โรคซึมเศร้าสามารถส่งผลกระทบในแง่ลบให้แก่ผู้ป่วยในหลาย ๆ เรื่อง เช่น ชีวิตส่วนตัว ชีวิตในที่ทำงานหรือโรงเรียน ตลอดจนการหลับ อุปนิสัยการกิน และสุขภาพโดยทั่วไป ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าผู้ใหญ่ประมาณ 2–7% เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตาย และประมาณ 60% ของผู้ฆ่าตัวตายกลุ่มนี้มีโรคซึมเศร้าร่วมกับความผิดปกติทางอารมณ์ชนิดอื่น คำว่า ความซึมเศร้า สามารถใช้ได้หลายทาง คือ มักใช้เพื่อหมายถึงกลุ่มอาการนี้ แต่อาจหมายถึงความผิดปกติทางจิตอื่นหรือหมายถึงเพียงภาวะซึมเศร้าก็ได้ โรคซึมเศร้าเป็นภาวะทำให้พิการ (disabling) ซึ่งมีผลเสียต่อครอบครัว งานหรือชีวิตโรงเรียน นิสัยการหลับและกิน และสุขภาพโดยรวมของบุคคล ในสหรัฐอเมริกา ราว 3.4% ของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าฆ่าตัวตาย และมากถึง 60% ของผู้ที่ฆ่าตัวตายนั้นมีภาวะซึมเศร้าหรือความผิดปกติทางอารมณ์อย่างอื่น ในประเทศไทย โรคซึมเศร้าเป็นความผิดปกติทางจิตที่พบมากที่สุด (3.7% ที่เข้าถึงบริการ) เป็นโรคที่สร้างภาระโรค (DALY) สูงสุด 10 อันดับแรกโดยเป็นอันดับ 1 ในหญิง และอันดับ 4 ในชาย การวินิจฉัยโรคซึมเศร้าอาศัยประสบการณ์ที่รายงานของบุคคลและการทดสอบสภาพจิต ไม่มีการทดสอบทางห้องปฏิบัติการสำหรับโรคซึมเศร้า ทว่า แพทย์อาจส่งตรวจเพื่อแยกภาวะทางกายซึ่งสามารถก่อให้เกิดอาการคล้ายกันออก ควรแยกโรคซึมเศร้าจากความเศร้าซึ่งเป็นธรรมดาของชีวิตและไม่รุนแรงเท่า มีการตั้งชื่อ อธิบาย และจัดกลุ่มอาการซึมเศร้าว่าเป็นความผิดปกติทางอารมณ์ (mood disorder) ในคู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิตปี 2523 ของสมาคมจิตแพทย์อเมริกัน คณะทำงานบริการป้องกันสหรัฐ (USPSTF) แนะนำให้คัดกรองโรคซึมเศร้าในบุคคลอายุมากกว่า 12 ปี แต่บทปฏิทัศน์คอเครนก่อนหน้านี้ไม่พบหลักฐานเพียงพอสำหรับการคัดกรองโรค โดยทั่วไป โรคซึมเศร้ารักษาได้ด้วยจิตบำบัดและยาแก้ซึมเศร้า ดูเหมือนยาจะมีประสิทธิภาพ แต่ฤทธิ์อาจสำคัญเฉพาะในผู้ที่ซึมเศร้ารุนแรงมาก ๆ เท่านั้น ไม่ชัดเจนว่ายาส่งผลต่อความเสี่ยงการฆ่าตัวตายหรือไม่ ชนิดของจิตบำบัดที่ใช้มีการบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม (cognitive behavioral therapy) และการบำบัดระหว่างบุคคล หากมาตรการอื่นไม่เป็นผล อาจทดลองให้การรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้า (ECT) อาจจำเป็นต้องให้ผู้ป่วยที่มีควมเสี่ยงทำร้ายตนเองเข้าโรงพยาบาลแม้บางทีอาจขัดต่อความประสงค์ของบุคคล ความเข้าใจถึงธรรมชาติและสาเหตุของความซึมเศร้าได้พัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ แม้ว่าจะยังไม่สมบูรณ์และยังมีประเด็นมากมายที่ยังต้องวิจัย เหตุที่เสนอรวมทั้งเป็นปัญหาทางจิต ทางจิต-สังคม ทางกรรมพันธุ์ ทางวิวัฒนาการ และปัจจัยอื่น ๆ ทางชีวภาพ การใช้สารเสพติดเป็นเวลานานอาจเป็นเหตุหรือทำอาการเศร้าซึมให้แย่ลง การบำบัดทางจิตอาศัยทฤษฎีต่าง ๆ เกี่ยวกับบุคลิกภาพ การสื่อสารระหว่างบุคคล และการเรียนรู้ ทฤษฎีทางชีววิทยามักจะพุ่งความสนใจไปที่สารสื่อประสาทแบบโมโนอะมีน คือ เซโรโทนิน นอร์เอพิเนฟริน และโดพามีน ซึ่งมีอยู่ตามธรรมชาติในสมองและช่วยการสื่อสารระหว่างเซลล์ประสาท.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและโรคซึมเศร้า

เอลิซาเบธ ฟาร์เนเซ สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน

อลิซาเบธ ฟาร์เนเซ สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน (Elisabetta Farnese, Isabel de Farnesio, Elisabeth Farnese) (22 ตุลาคม ค.ศ. 1692 - 11 กรกฎาคม ค.ศ. 1766) เอลิซาเบธ ฟาร์เนเซประสูติเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม ค.ศ.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและเอลิซาเบธ ฟาร์เนเซ สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน

เจ้าชายฟรังซิชกู อังตอนีอูแห่งไบรา

้าชายฟรังซิชกู อังตอนีอูแห่งโปรตุเกส เจ้าชายแห่งไบรา (21 มีนาคม พ.ศ. 2338 - 11 มิถุนายน พ.ศ. 2344) เป็นพระราชโอรสพระองค์แรกในพระเจ้าโจเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกสกับเจ้าหญิงการ์โลตา โคอากีนาแห่งสเปน ซึ่งขณะนั้นทั้งสองพระองค์ทรงดำรงเป็นเจ้าชายแห่งบราซิลและเจ้าหญิงแห่งบราซิล.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและเจ้าชายฟรังซิชกู อังตอนีอูแห่งไบรา

เจ้าหญิงอิซาเบล มารีอาแห่งโปรตุเกส

้าหญิงอิซาเบล มารีอาแห่งโปรตุเกส หรือ เจ้าหญิงแห่งบราแกนซา (4 กรกฎาคม พ.ศ. 2344 - 22 เมษายน พ.ศ. 2419)ทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งโปรตุเกส และเป็นพระราชธิดาในพระเจ้าโจเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกสกับเจ้าหญิงคาร์ลอตา โจวควินาแห่งสเปน.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและเจ้าหญิงอิซาเบล มารีอาแห่งโปรตุเกส

16 ธันวาคม

วันที่ 16 ธันวาคม เป็นวันที่ 350 ของปี (วันที่ 351 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 15 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและ16 ธันวาคม

17 ธันวาคม

วันที่ 17 ธันวาคม เป็นวันที่ 351 ของปี (วันที่ 352 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 14 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและ17 ธันวาคม

20 มีนาคม

วันที่ 20 มีนาคม เป็นวันที่ 79 ของปี (วันที่ 80 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 286 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและ20 มีนาคม

24 กุมภาพันธ์

วันที่ 24 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 55 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 310 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกสและ24 กุมภาพันธ์

ดูเพิ่มเติม

ดยุกแห่งบรากันซา

บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2277

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2359

พระมหากษัตริย์บราซิล

ราชวงศ์บรากังซา

ราชวงศ์บราซิล