โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงา

ดัชนี สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงา

มเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองกา (4 มิถุนายน พ.ศ. 2461 - 10 กันยายน พ.ศ. 2549) พระมหากษัตริย์แห่งตองงา ทรงเป็นผู้หนึ่งซึ่งนิยมประชาธิปไตย ตองงา เป็นประเทศเดียวที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขในภูมิภาคโอเชียเนีย กินเนสบุคส์ได้บันทึกไว้ว่าทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่มีน้ำหนักพระองค์มากที่สุดในโลก คือ 201 กิโลกรัม ใน พ.ศ. 2513 แต่ต่อมาน้ำหนักพระองค์ก็ลดลงเหลือ 139 กิโลกรัม ใน พ.ศ. 2532 นอกจากนั้นพระองค์ยังเคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของตองงา ระหว่างปี พ.ศ. 2492 - พ.ศ. 2508.

25 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2461พ.ศ. 2492พ.ศ. 2508พ.ศ. 2510พ.ศ. 2513พ.ศ. 2532พ.ศ. 2545พ.ศ. 2549พ.ศ. 2555ภาวะหัวใจวายรายพระนามพระมหากษัตริย์ตองงารายนามนายกรัฐมนตรีตองงาวิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮีสมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จ ตูโปอูที่ 5สมเด็จพระราชาธิบดีตูโปอูที่ 6สมเด็จพระราชินีฮาลาเอวาลู มาตาอาโฮ อาโฮเมเอสมเด็จพระราชินีนาถซาโลเต ตูโปอูที่ 3 แห่งตองงาสหราชอาณาจักรประเทศออสเตรเลียประเทศตองงาโอเชียเนีย10 กันยายน16 ธันวาคม4 กรกฎาคม4 มิถุนายน

พ.ศ. 2461

ทธศักราช 2461 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1918 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงาและพ.ศ. 2461 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2492

ทธศักราช 2492 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1949.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงาและพ.ศ. 2492 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2508

ทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงาและพ.ศ. 2508 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2510

ทธศักราช 2510 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1967 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงาและพ.ศ. 2510 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2513

ทธศักราช 2513 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1970 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงาและพ.ศ. 2513 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงาและพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงาและพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงาและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงาและพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

ภาวะหัวใจวาย

วะหัวใจวาย หรือภาวะหัวใจล้มเหลว (Heart Failure (HF)) มักใช้หมายถึงภาวะหัวใจวายเรื้อรัง (chronic heart failure (CHF)) เกิดเมื่อหัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดเพียงพอเพื่อคงการไหลของเลือดเพื่อสนองความต้องการของร่างกาย คำว่า โรคหัวใจเลือดคั่ง (Congestive heart failure (CHF) หรือ congestive cardiac failure (CCF)) มักใช้แทนคำว่า หัวใจวายเรื้อรัง ได้ อาการและอาการแสดงโดยทั่วไปมีหายใจกระชั้น เหนี่อยเกิน และขาบวม การหายใจกระชั้นมักเลวลงเมื่อออกกำลังกาย เมื่อนอนราบและเมื่อกลางคืนขณะหลับ มักมีข้อจำกัดปริมาณการออกกำลังกายที่ผู้ป่วยทำได้ แม้รักษาอย่างดีแล้ว สาเหตุทั่วไปของภาวะหัวใจวาย ได้แก่ โรคหลอดเลือดหัวใจซึ่งรวมกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด (อาการหัวใจล้ม) ก่อนหน้านี้, ความดันโลหิตสูง, หัวใจห้องบนเต้นแผ่วระรัว (atrial fibrillation), โรคลิ้นหัวใจ (valvular heart disease), และโรคกล้ามเนื้อหัวใจ (cardiomyopathy) สาเหตุเหล่านี้ทำให้เกิดอาการหัวใจล้มโดยเปลี่ยนโครงสร้างหรือการทำหน้าที่ของหัวใจ มีอาการหัวใจล้มสองประเภทหลัก คือ อาการหัวใจล้มจากการทำหน้าที่ผิดปรกติของหัวใจห้องล่างซ้ายและอาการหัวใจล้มโดยมีเศษส่วนการสูบฉีดปกติแล้วแต่ว่าหัวใจห้องล่างซ้ายมีความสามารถหดตัวหรือไม่ หรือความสามารถคลายตัวของหัวใจ ปกติจัดลำดับความรุนแรงของโรคจากความสามารถการออกกำลังกายที่ลดลง ภาวะหัวใจวายมิใช่อย่างเดียวกับกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือดหรือหัวใจหยุด (ซึ่งเลือดหยุดไหลทั้งหมด) ฦโรคอื่นซึ่งอาจมีอาการคล้ายกับภาวะหัวใจวาย เช่น โรคอ้วน ปัญหาไต ปัญหาตับ โลหิตจาง และโรคไทรอยด์ เป็นต้น การวินิจฉัยภาวะนี้อาศัยประวัติของอาการและการตรวจร่างกาย ยืนยันด้วยการบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (echocardiography) การตรวจเลือด การบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจและการฉายรังสีทรวงอกอาจมีประโยชน์เพื่อตัดสินสาเหตุเบื้องหลัง การรักษาขึ้นอยู่กับความรุนแรงและสาเหตุของโร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงาและภาวะหัวใจวาย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ตองงา

ราชวงศ์ตูโปอูซึ่งมีความเกี่ยวเนื่องกับราชวงศ์ตูอิกาโนกูโปลูปกครองประเทศตองงาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2388 เป็นต้นมา โดยใช้ระบบราชาธิปไตย พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี มาบริหารประเทศ และนายกรัฐมนตรีแต่ละสมัยของตองงามักเป็นเชื้อพระวงศ์หรือไม่ก็เป็นเหล่าขุนนางซึ่งมาจากการเลือกของขุนนางทั้งหมด 33 คน แต่ในปัจจุบันนี้ได้มีนายกรัฐมนตรีพลเรือนคนแรกของตองงาคือ ดร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงาและรายพระนามพระมหากษัตริย์ตองงา · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีตองงา

ประเทศตองงามีนายกรัฐมนตรีมาแล้วทั้งสิ้น 14 คน โดยเจ้าชายเตวิตา อังกาเป็นผู้ประเดิมตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยส่วนใหญ่แล้วเชื้อพระวงศ์และชนชั้นสูงมีโอกาสในการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีบ่อยครั้งกว่าสามัญชน อย่างไรก็ตามในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงาและรายนามนายกรัฐมนตรีตองงา · ดูเพิ่มเติม »

วิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮี

วิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮี หรือเจ้าชายวิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮี เจ้าชายพระราชสวามีแห่งตองกา (Viliami Tupoulahi Tungī Mailefihi) (พระราชสมภพ 1 พฤศจิกายน 1887) เป็นนายกรัฐมนตรีตองกาและพระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถสโลเต ตูปูที่ 3 แห่งตองกา พระองค์เป็นสมาชิกราชวงศ์ตูปูผ่านทางการอภิเษกสมรส วิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮีและสมเด็จพระราชินีนาถสโลเต ตูปูที่ 3 วิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮี เป็นบุตรของซิอาโอซิ ตูกูอาโฮ นายกรัฐมนตรีของตองกาตั้งแต่ 1890 ถึง 1893 พระองค์ได้รับเลือกจากพระเจ้าจอร์จ ตูปูที่ 2 แห่งตองกา ให้อภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงสโลเต ตูปูเจ้าหญิงและรัชทายาทแห่งตองกา (ต่อมาคือ "สมเด็จพระราชินีนาถสโลเต ตูปูที่ 3 แห่งตองกา") เมื่อเจ้าหญิงสโลเต ตูปูครองราชย์ พระองค์จึงดำรงพระราชอิสริยยศเป็น "เจ้าชายพระราชสวามีแห่งตองกา" นอกจากนี้พระองค์ยังได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีตองกาตั้งแต่ 1923 จนกระทั่งเสด็จสวรรคตในปี 1941.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงาและวิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จ ตูโปอูที่ 5

มเด็จพระราชาธิบดีจอร์จ ตูโปอูที่ 5 แห่งตองกา (George Tupou V) หรือพระนามเดิม เจ้าชายเซียโอซี เตาฟาอาเฮา มานูมาตาโอโก ตูกูอาโฮ ตูโปอู มกุฎราชกุมารแห่งตองกา (Sia'osi Taufa'ahau Manumata'ogo Tuku'aho Tupou, Crown Prince of Tonga) ทรงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นมกุฎราชกุมารแห่งราชอาณาจักรตองงา เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2509 ขณะมีพระชนมพรรษา 18 พรรษา เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2549 โดยมีการประกอบพระราชพิธีราชาภิเษกในวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2551 ทรงเป็นกษัตริย์ลำดับที่ 5 แห่งราชวงศ์ตูโปอูและลำดับที่ 23 แห่งราชวงศ์ตูอิกาโนกูโปลู อีกทั้งพระองค์ยังมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจอันดีกับนายกรัฐมนตรีเฟเลติ เซเวเล.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงาและสมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จ ตูโปอูที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีตูโปอูที่ 6

มเด็จพระราชาธิบดีอาโฮเออิตู อูนัวกิโอตองงา ตูกู อาโฮ ตูโปอูที่ 6 แห่งตองกา เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2502 เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรตองการัชกาลปัจจุบัน และเป็นพระราชโอรสองค์สุดท้องของสมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4กับ สมเด็จพระราชินีฮาลาเอวาลู มาตาอาโฮ อาโฮเมเอ และเป็นพระอนุชาของสมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จ ตูโปอูที่ 5 พระองค์ดำรงตำแหน่งเป็นมกุฎราชกุมารของตองกาหลังจากการขึ้นครองราชสมบัติของสมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จ ตูโปอูที่ 5 เมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2549 และยังทรงเคยดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีตองงา แต่เนื่องจากการกดดันจากกลุ่มต่าง ๆ และปัญหาการฉ้อราษฎร์บังหลวง พระองค์จึงต้องทรงลาออกในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงาและสมเด็จพระราชาธิบดีตูโปอูที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีฮาลาเอวาลู มาตาอาโฮ อาโฮเมเอ

มเด็จพระราชินีฮาลาเอวาลู มาตาอาโฮ อาโฮเมเอ พระบรมราชชนนีแห่งตองกา (Halaevalu Mataʻaho ʻAhomeʻe; 29 พฤษภาคม 1926–19 กุมภาพันธ์ 2017) เป็นพระอัครมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงาผู้ซึ่งสวรรคตเมื่อปี 2006 และเป็นพระราชชนนีในสมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จ ตูโปอูที่ 5 แห่งตองงาและสมเด็จพระราชาธิบดีตูโปอูที่ 6 แห่งตองงา สมเด็จพระราชินีฮาลาเอวาลู มาตาอาโฮ อาโฮเมเอ พระราชสมภพเมื่อ 29 พฤษภาคม 1926 เป็นพระราชธิดาในอาโฮเมเอกับเฮอูอิฟางกา พระมารดาพระองค์เป็นพระราชนัดดาในกษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งจักรวรรดิตูอีโตงาพระองค์อภิเษกสมรสกับสมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงา เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน ค.ศ. 1947 เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2017 สำนักพระราชวังตองงา ได้ออกมาแถลงการณ์ว่า พระองค์เสด็จสวรรคตด้วยโรคชรา สิริพระชนมายุ 89 พรรษ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงาและสมเด็จพระราชินีฮาลาเอวาลู มาตาอาโฮ อาโฮเมเอ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถซาโลเต ตูโปอูที่ 3 แห่งตองงา

สมเด็จพระราชินีนาถซาโลเต ตูโปอูที่ 3 แห่งตองกา ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ องค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์ตูโปอู และทรงเป็น สมเด็จพระราชินีนาถแห่งตองกา เพียงพระองค์เดียว ทรงพระราชสมภพเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2443 เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 2และสมเด็จพระราชินีลาวิเนีย เวอิออนโก ทรงเป็นกษัตริย์นักพัฒนา ทรงพัฒนาธุรกิจและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศถือเป็นกษัตริย์นักพัฒนาอีกพระองค์หนึ่งนอกจากพระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1 จึงทำให้ยุคของพระนางเป็นยุคทองของประเทศตองงา นอกจากรัชสมัยของพระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1 พระองค์ทรงอภิเษกสมรสกับ วิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮี พระองค์ทรงขึ้นครองราชย์ในวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2461 และสวรรคตในวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2508 สมเด็จพระราชินีนาถซาโลเต ตูโปอูที่ 3 ซาโลเต หมวดหมู่:สมเด็จพระราชินีนาถ หมวดหมู่:ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์จีบีอี.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงาและสมเด็จพระราชินีนาถซาโลเต ตูโปอูที่ 3 แห่งตองงา · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงาและสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรเลีย

ออสเตรเลีย (Australia) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐออสเตรเลีย เป็นประเทศซึ่งประกอบด้วยแผ่นดินหลักของทวีปออสเตรเลีย, เกาะแทสเมเนีย และเกาะอื่น ๆ ในมหาสมุทรอินเดีย แปซิฟิก และมหาสมุทรใต้ มันเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับหกของโลกเมื่อนับพื้นที่ทั้งหมด ประเทศเพื่อนบ้านของออสเตรเลียประกอบด้วย อินโดนีเซีย ปาปัวนิวกินีและติมอร์-เลสเตทางเหนือ หมู่เกาะโซโลมอน วานูอาตู และนิวแคลิโดเนียทางตะวันออกเฉียงเหนือ และนิวซีแลนด์ทางตะวันออกเฉียงใต้ เป็นเวลาอย่างน้อย 40,000 ปี ก่อนที่จะตั้งถิ่นฐานครั้งแรกของอังกฤษในศตวรรษที่ 18,Davison, Hirst and Macintyre, pp.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงาและประเทศออสเตรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองงา

ตองงา (อังกฤษและTonga) มีชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรตองงา (Kingdom of Tonga; Puleʻanga Fakatuʻi ʻo Tonga ปูเลอางา ฟากาตูอีโอโตงา) เป็นประเทศหมู่เกาะในภูมิภาคพอลินีเชีย ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก ระหว่างประเทศนิวซีแลนด์กับรัฐฮาวายของสหรัฐอเมริกา โดยทะเลอาณาเขตทางตะวันตกติดกับประเทศฟิจิ ส่วนทางตะวันออกติดกับหมู่เกาะคุก นีวเว และอเมริกันซามัว ในขณะที่ทางทิศเหนือติดกับหมู่เกาะวาลิสและฟูตูนา ประเทศซามัว และอเมริกันซามัว ชื่อประเทศในภาษาตองงาแปลว่าทิศใต้ นอกจากนี้ประเทศนี้ได้รับฉายาว่า หมู่เกาะมิตรภาพ จากกัปตันเจมส์ คุก ประเทศตองงาเป็นประเทศขนาดเล็กมีเนื้อที่เพียง 747 ตารางกิโลเมตร นับเป็นอันดับที่ 189 ของโลก หมู่เกาะตองงาประกอบไปด้วยเกาะน้อยใหญ่ประมาณ 169 เกาะ โดยมีเพียง 36 เกาะเท่านั้นที่มีผู้อยู่อาศัย เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะโตงาตาปู ซึ่งเป็นที่ตั้งศูนย์กลางการปกครองคือนูกูอาโลฟา เกาะส่วนใหญ่ของตองงาเป็นเกาะที่เกิดจากการทับถมของปะการัง ประชากรของตองงามีทั้งสิ้น 103,036 คน นับเป็นอันดับที่ 192 ของโลก สันนิษฐานว่ามนุษย์เข้ามาอยู่อาศัยในตองงาครั้งแรกเมื่อ 826 ± 8 ปีก่อนคริสตกาล ตองงาเริ่มก่อตั้งอาณาจักรเป็นของตนเองในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงาและประเทศตองงา · ดูเพิ่มเติม »

โอเชียเนีย

อเชียเนีย (Oceania) เป็นชื่อที่ใช้เรียกกลุ่มของหมู่เกาะต่าง ๆ ในมหาสมุทรแปซิฟิก การใช้ในวงแคบ หมายถึง หมู่เกาะพอลินีเซีย (รวมนิวซีแลนด์) หมู่เกาะเมลานีเซีย (รวมนิวกินี) และหมู่เกาะไมโครนีเซีย การใช้ในวงกว้างจะรวมออสเตรเลียเข้าไปด้วย และอาจรวมถึงกลุ่มเกาะมลายู บางทีนำไปใช้ในความหมายที่รวมเอาเกาะอื่นๆ เข้าไว้ เช่น ญี่ปุ่นและหมู่เกาะอาลิวเชียน แต่พบน้อยมาก "โอเชียเนีย" หมายถึง กลุ่มประเทศและหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก รวมทวีปออสเตรเลียซึ่งเป็นทวีปที่มีขนาดเล็กที่สุด เนื้อที่ราว 7.7 ล้านตารางกิโลเมตร เล็กกว่าทวีปเอเชียถึง 6 เท่า ประกอบด้วย ผืนแผ่นดินที่เป็นที่ตั้งของประเทศออสเตรเลีย ประเทศนิวซีแลนด์ และหมู่เกาะพอลินีเซีย หมู่เกาะไมโครนีเซีย หมู่เกาะเมลานีเซีย ทวีปออสเตรเลีย-โอเชียเนีย เป็นกลุ่มของหมู่เกาะจำนวนมากนับพันเกาะ อย่างไมโครนีเซียมีในครอบครองกว่า 600 เก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงาและโอเชียเนีย · ดูเพิ่มเติม »

10 กันยายน

วันที่ 10 กันยายน เป็นวันที่ 253 ของปี (วันที่ 254 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 112 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงาและ10 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

16 ธันวาคม

วันที่ 16 ธันวาคม เป็นวันที่ 350 ของปี (วันที่ 351 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 15 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงาและ16 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 กรกฎาคม

วันที่ 4 กรกฎาคม เป็นวันที่ 185 ของปี (วันที่ 186 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 180 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงาและ4 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 มิถุนายน

วันที่ 4 มิถุนายน เป็นวันที่ 155 ของปี (วันที่ 156 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 210 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงาและ4 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูปูที่ 4สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูปูที่ 4 แห่งตองกาสมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4พระเจ้าเตาฟาอาฮัวทูปูที่ 4เจ้าฟ้าชายทูโพทัวตังกิ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »