เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาล

ดัชนี สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาล

King Birendra Bir Bikram Shah สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทรพีรพิกรมศาหเทวะ เป็นพระมหากษัตริย์แห่งพระมหากษัตริย์เนปาลพระองค์ที่ 11 พระราชสมภพเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน..

สารบัญ

  1. 16 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2488พ.ศ. 2515พ.ศ. 2544กาฐมาณฑุการสังหารหมู่ราชวงศ์เนปาลราชวงศ์ศาหะราชอาณาจักรเนปาลรายพระนามพระมหากษัตริย์เนปาลสมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทระแห่งเนปาลสมเด็จพระราชาธิบดีทิเปนทระแห่งเนปาลสมเด็จพระเจ้ามเหนทระแห่งเนปาลเจ้าหญิงศรุติแห่งเนปาลเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นมงคลยิ่งราชมิตราภรณ์1 มิถุนายน28 พฤศจิกายน31 มกราคม

  2. จอมพลชาวสหราชอาณาจักร

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาลและพ.ศ. 2488

พ.ศ. 2515

ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาลและพ.ศ. 2515

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาลและพ.ศ. 2544

กาฐมาณฑุ

right กาฐมาณฑุ (काठमाडौं, Kathmandu) เป็นเมืองหลวงของประเทศเนปาล และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดด้วย เป็นพื้นที่เมืองและชานเมืองที่มีประชากรประมาณ 3.2 ล้านคนในพื้นที่ 3 เมืองในหุบเขากาฐมาณฑุในเนปาลกลาง บนแม่น้ำพาคมตี (Bagmati) อีก 2 เมืองคือปาฏัน (Patan) และภักตปุระ (Bhaktapur) กาฐมาณฑุตั้งที่ 27°43' เหนือ 85°22' ตะวันออก (27.71667, 85.36667) เมืองนี้ยังได้รับการแข่งขันกีฬาภูมิภาคเอเชียใต้เป็นครั้งแรกอีกด้วย และเมืองนี้เป็นเมืองหลวงเมืองเดียวในโลกที่มีตำรวจจราจรเป็นตำรวจหญิง.

ดู สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาลและกาฐมาณฑุ

การสังหารหมู่ราชวงศ์เนปาล

มื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2544 ได้เกิดเหตุการณ์สังหารหมู่พระราชวงศ์แห่งเนปาลขึ้นภายในพระราชวังในกรุงกาฐมาณฑุ เป็นผลให้กษัตริย์พิเรนทรพีรพิกรมศาหเทวะ (Birendra Bir Bikram Shah Dev) และสมเด็จพระราชินีไอศวรรยาราชยลักษมีเทวีศาหะ (Aiswarya) เสด็จสวรรคต พร้อมด้วยสมาชิกพระราชวงศ์อีก 7 พระองค์ ซึ่งล้วนแต่เป็นสมาชิกองค์สำคัญในราชวงศ์เนปาลทั้งสิ้น เหตุการณ์นี้ทำให้ชาวโลกตื่นตะลึง และยังความเศร้าโศกโกลาหลให้แก่ชาวเนปาลอย่างมหันต์ สำนักพระราชวังได้ประกาศสาเหตุของโศกนาฏกรรมว่า เกิดจากอุบัติเหตุพระแสงปืนลั่นโดยมกุฎราชกุมารดิเพนทรา (Dipentra) เป็นผู้ทำพระแสงปืนลั่นในขณะที่สมาชิกพระราชวงศ์กำลังร่วมเสวยพระกระยาหารค่ำ ก่อนที่องค์มกุฎราชกุมารจะทำพระแสงปืนลั่นถูกพระองค์เอง ในขณะที่เจ้าหน้าที่ระดับสูงของสำนักพระราชวังและแหล่งข่าวหลายกระแสวิพากษ์วิจารณ์ว่าโศกนาฏกรรมครั้งนี้เกิดจากการที่องค์มกุฏราชกุมาณทรงบันดาลโทสะในขณะทรงวิวาทกับพระราชมารดาเรื่องการที่องค์มกุฎราชกุมาร ทรงต้องการจะอภิเษกกับสตรีจากตระกูลรานา (Rana) และแหล่งข่าวอีกหลายกระแส ตั้งข้อสงสัยว่าองค์มกุฎราชกุมารทรงตกอยู่ในพระอาการมึนเมาจากน้ำจัณฑ์ (สุรา) และยาเสพติด หลังจากจัดงานพระบรมศพเรียบร้อย ในวันที่ 3 มิถุนายน ทางการเนปาลก็ได้อัญเชิญให้มกุฎราชกุมาร ดิเพนทรา ขึ้นครองราชย์ต่อจากพระราชบิดา แต่ในวันเดียวกัน พระองค์ก็สวรรคตลงอีกพระองค์หนึ่ง ทำให้ทางการเนปาลต้องถวายการแต่งตั้งให้เจ้าชายชญาเนนทร (Gyanendra) พระอนุชาของกษัตริย์พิเรนทรา ซึ่งมิได้ประทับในกาฐมาณฑุขณะเกิดโศกนาฏกรรม การสวรรคตของกษัตริย์พิเรนทรา ส่งผลให้การเมืองภายในประเทศของเนปาลเกิดความปั่นป่วนขึ้นเกือบจะในทันที ประชาชนจำนวนมากได้รวมตัวกันเป็นขบวนประท้วงไปตามถนนในกรุงกาฐมาณฑุ เพื่อเรียกร้องให้รัฐบาลสืบหาความจริงของโศกนาฏกรรมโดยด่วน ประชาชนที่กำลังโกรธแค้นได้ทำลายสาธารณสมบัติ และต่อสู้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจจนมีผู้เสียชีวิตหลายราย ทำให้ทางการต้องประกาศกฎอัยการศึกทั่วประเทศจนถึงวันที่ 8 มิถุนายน ในขณะเดียวกันหนังสือพิมพ์ 3 ฉบับถูกสั่งปิดข้อหาลงข่าวที่ไม่เหมาะสม ขณะที่ผู้นำกลุ่มลัทธิเหมา (Maoist) นายประจันดา (Prachanda เป็นชื่อย่อจาก Pushpa Kamal Dahal) ได้ออกมาเคลื่อนไหวเรียกร้องให้ฝ่ายซ้าย (leftist) ฝ่ายชาตินิยม (nationalist) และฝ่ายนิยมสาธารณรัฐ (republican) ร่วมกันตั้งรัฐบาลเฉพาะการณ์ขึ้นในระหว่างที่ประเทศกำลังระส่ำระสาย นอกจากนี้ นายมาดาว์ กุมาร เนปาล (Madhav Kumar Nepal) หัวหน้าพรรคแนวร่วมคอมมิวนิสต์แห่งเนปาล (Nepal Communist Party-United Marxist and Leninist: NCP-UML) ซึ่งเป็นฝ่ายค้านของเนปาลได้ลาออกจากตำแหน่งในวันที่ 14 มิถุนายน เพื่อแสดงความบริสุทธิ์ใจต่อการสวรรคตของกษัตริย์พิเรนทร.

ดู สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาลและการสังหารหมู่ราชวงศ์เนปาล

ราชวงศ์ศาหะ

ราชวงศ์ศาหะ (Shah dynasty) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักร กุรข่าจนกระทั่ง 1768 และเป็นราชวงศืที่ปกครองราชอาณาจักรเนปาลตั้งแต่เริ่มก่อตั้งในปี 1768 จนกระทั่งสิ้นสุดระบอบราชาธิปไตยในปี 2008.

ดู สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาลและราชวงศ์ศาหะ

ราชอาณาจักรเนปาล

ราชอาณาจักรเนปาล (Kingdom of Nepal, नेपाल अधिराज्य) หรือราชอาณาจักรโครขา ก่อตั้งเมื่อ..

ดู สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาลและราชอาณาจักรเนปาล

รายพระนามพระมหากษัตริย์เนปาล

ระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรเนปาล เรียกโดยราชประเพณีว่า "ศรีปัญจมหาราชธิราช" (เนปาลี: श्री ५ महाराजधिराज, Śrī Pañca Mahārājdhirāj) ส่วนสมเด็จพระราชินีแห่งราชอาณาจักรเนปาล เรียก "ศรีปัญจพฑามหารานี" (เนปาลี: श्री ५ बडामहारानी, Śrī Pañca Badāmahārānī) ทั้งนี้ การปกครองประเทศเนปาลตามระบอบราชาธิปไตยนั้นได้ยกเลิกไปโดยมติของสภาร่างรัฐธรรมนูญแห่งเนปาลซึ่งให้เปลี่ยนแปลงเป็นระบอบสาธารณรัฐตั้งแต่วันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาลและรายพระนามพระมหากษัตริย์เนปาล

สมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทระแห่งเนปาล

มเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทรวีรวิกรมศาหเทวะ (ज्ञानेन्द्र वीर बिक्रम शाहदेव; Jñānendra Vīra Vikrama Śāhadeva; ชฺาเนนฺทฺร วีร พิกฺรม ศาหเทว) หรือ สมเด็จพระราชาธิบดีคยาเนนทรพีรพิกรมศาหเทว์ (Gyanendra Bir Bikram Shah Dev) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งราชอาณาจักรเนปาลในราชวงศ์ศาห์ เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีมเหนทระ ประสูติแต่เจ้าหญิงอินทระ มกุฎราชกุมารีแห่งเนปาล.

ดู สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาลและสมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทระแห่งเนปาล

สมเด็จพระราชาธิบดีทิเปนทระแห่งเนปาล

right สมเด็จพระราชาธิบดีทิเปนทรพีรพิกรมศาหเทวะ (Dipendra Bir Bikram Shah Dev) หรือที่สื่อในไทยมักเขียนเป็น ดิเพนทรา (27 มิถุนายน พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาลและสมเด็จพระราชาธิบดีทิเปนทระแห่งเนปาล

สมเด็จพระเจ้ามเหนทระแห่งเนปาล

มเด็จพระเจ้ามเหนทรพีรพิกรมศาหเทวะ เป็นพระมหากษัตริย์แห่งพระมหากษัตริย์เนปาลพระองค์ที่ 10 ครองราชย์ระหว่าง 14 มีนาคม..

ดู สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาลและสมเด็จพระเจ้ามเหนทระแห่งเนปาล

เจ้าหญิงศรุติแห่งเนปาล

้าหญิงศรุติราชยลักษมีเทวีศาหะ (श्रुती राज्यलक्ष्मी देवी शाह; 15 ตุลาคม พ.ศ. 2519 — 1 มิถุนายน พ.ศ. 2544) พระราชธิดาองค์แรกในสมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทรพีรพิกรมศาหเทวะ กับสมเด็จพระราชินีไอศวรรยาราชยลักษมีเทวีศาหะ เป็นพระขนิษฐาในมกุฎราชกุมารทิเปนทรวีรพิกรมศาหเทวะ และเป็นพระพี่นางในเจ้าชายนิราชันวีรพิกรมศาหเทว.

ดู สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาลและเจ้าหญิงศรุติแห่งเนปาล

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นมงคลยิ่งราชมิตราภรณ์

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นมงคลยิ่งราชมิตราภรณ์ (Knight and Dame of the Most Auspicious Order of the Rajamitrabhorn) เรียกโดยย่อว่า "ร.ม.." เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งประเทศไทยที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ.

ดู สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาลและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นมงคลยิ่งราชมิตราภรณ์

1 มิถุนายน

วันที่ 1 มิถุนายน เป็นวันที่ 152 ของปี (วันที่ 153 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 213 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาลและ1 มิถุนายน

28 พฤศจิกายน

วันที่ 28 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 332 ของปี (วันที่ 333 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 33 วันในปีนั้น.

ดู สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาลและ28 พฤศจิกายน

31 มกราคม

วันที่ 31 มกราคม เป็นวันที่ 31 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 334 วันในปีนั้น (335 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทระแห่งเนปาลและ31 มกราคม

ดูเพิ่มเติม

จอมพลชาวสหราชอาณาจักร

หรือที่รู้จักกันในชื่อ สมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทรพีรพิกรมศาหเทวะสมเด็จพระราชาธิบดีพีเรนทรแห่งเนปาล