โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รัฐสภากัมพูชา

ดัชนี รัฐสภากัมพูชา

รัฐสภา (រដ្ឋសភា รฎฺฐสภา; National Assembly) ชื่อเต็มว่า รัฐสภาในพระราชาณาจักรกัมพูชา (រដ្ឋសភានៃព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា รฎฺฐสภาไนพฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นสภาล่างในสภาผู้แทนราษฎรกัมพูชา คู่กับสภาสูง คือ.

11 ความสัมพันธ์: พรรคฟุนซินเปกพรรคสงเคราะห์ชาติพรรคประชาชนกัมพูชาพรรคประชาธิปไตยเสรีนิยมพระพุทธศาสนาพฤฒสภากัมพูชาสภาล่างสภาผู้แทนราษฎรกัมพูชาสมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์สมเด็จอัครมหาพญาจักรี เฮง สัมรินสมเด็จอัครมหาธรรมโพธิศาล เจีย ซีมซอน ซาน

พรรคฟุนซินเปก

รรคฟุนซินเปก (FUNCINPEC; គណបក្ស ហ្វ៊ុនស៊ិនប៉ិច คณปกฺส หฺวุ̃นซินปิจ) เป็นพรรคการเมืองนิยมเจ้าในกัมพูชา โดยเป็นพรรคร่วมรัฐบาลหลังการเลือกตั้ง..

ใหม่!!: รัฐสภากัมพูชาและพรรคฟุนซินเปก · ดูเพิ่มเติม »

พรรคสงเคราะห์ชาติ

กึม สุขา หัวหน้าพรรคสิทธิมนุษย์ และสม รังสี หัวหน้าพรรคสม รังสี ให้สัมภาษณ์แก่นักข่าวของ VOA เกี่ยวกับการจัดตั้งพันธมิตรทางการเมืองเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2555 พรรคสงเคราะห์ชาติ (គណបក្សសង្រ្គោះជាតិ คณบกฺสสงฺเคฺราะชาติ, Cambodia National Rescue Party: CNRP) หรือที่บางสำนักข่าวของไทยมักเรียกว่า พรรคกู้ชาติ เป็นพันธมิตรเพื่อการเลือกตั้งของพรรคการเมืองกัมพูชาฝ่ายค้าน 2 พรรค ได้แก่ พรรคสม รังสี และพรรคสิทธิมนุษย์ (Human Rights Party) ซึ่งก่อตั้งขึ้นในช่วงกลางปี..

ใหม่!!: รัฐสภากัมพูชาและพรรคสงเคราะห์ชาติ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาชนกัมพูชา

รรคประชาชนกัมพูชา (គណបក្សប្រជាជនកម្ពុជា คณบกฺสบฺรชาชนกมฺพุชา: KPK; Cambodian People’s Party เป็นพรรคที่สืบทอดมาจากพรรคปฏิวัติประชาชนกัมพูชาที่ก่อตั้งมาตั้งแต่ พ.ศ. 2522 การเปลี่ยนแปลงมาเป็นพรรคประชาชนกัมพูชาเกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2534 โดยมีการเปลี่ยนแปลงอุดมการณ์ของพรรค ยกเลิกแนวคิดนิยมคอมมิวนิสต์ก่อนการประชุมสันติภาพที่ปารีส ผู้นำพรรคคือฮุน เซน และ เจีย ซิม พรรคเข้าร่วมการเลือกตั้งใน พ.ศ. 2536 และได้คะแนนเสียงเป็นลำดับที่สอง ได้เข้าร่วมรัฐบาลผสมกับพรรคฟุนซินเปก โดยฮุน เซนได้เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่สอง เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2540 ฮุน เซน เข้ายึดอำนาจและขับไล่สมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ออกจากตำแหน่ง และจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปใน พ.ศ. 2541 ซึ่งพรรคได้เสียงมากที่สุดและได้เป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาลผสม.

ใหม่!!: รัฐสภากัมพูชาและพรรคประชาชนกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปไตยเสรีนิยมพระพุทธศาสนา

รรคประชาธิปไตยเสรีนิยมพระพุทธศาสนา (គណបក្សប្រជាធិបតេយ្យសេរីនិយមព្រះពុទ្ធសាសនា คณบกฺสบฺรชาธิบเตยฺยเสรีนิยมพฺระพุทฺธสาสนา; Buddhist Liberal Democratic Party; BLDP) เป็นพรรคการเมืองในกัมพูชา ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: รัฐสภากัมพูชาและพรรคประชาธิปไตยเสรีนิยมพระพุทธศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

พฤฒสภากัมพูชา

(ព្រឹទ្ធសភា พฺรึทฺธสภา; Senate) ชื่อเต็มว่า พฤฒสภาในพระราชาณาจักรกัมพูชา (ព្រឹទ្ធសភានៃព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺรึทฺธสภาไนพฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นสภาสูงในสภาผู้แทนราษฎรกัมพูชา คู่กับรัฐสภาซึ่งเป็นสภาล่าง พฤฒสภามีสภาชิก 61 คน 57 คนสภาท้องถิ่น (commune council) เลือกมาทุก 6 ปี ทีเหลือ 4 คน 2 คนพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง อีก 2 คนรัฐสภาแต่งตั้ง เพื่อทำหน้าที่ตามที่รัฐธรรมนูญและกฎหมายกำหนด พฤฒสภามีผู้บริหาร คือ ประธาน 1 คน และรองประธาน 2 คน พฤฒสภาประชุมครั้งแรกเมื่อวันที่ 25 มีนาคม..

ใหม่!!: รัฐสภากัมพูชาและพฤฒสภากัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

สภาล่าง

ล่าง (อังกฤษ: lower house) เป็นหนึ่งในสองสภาของระบบสองสภา อีกสภาหนึ่งได้แก่ สภาสูง ในแต่ละประเทศ สภาล่างจะมีชื่อเรียกแตกต่างกันออกไป ตัวอย่างสภาล่าง เช่น สภาผู้แทนราษฎร ถึงแม้ว่าตำแหน่งทางทฤษฎีจะอยู่ "ข้างล่าง" ของสภาสูง แต่ในความเป็นจริง "สภาล่าง" เกือบทุกประเทศในโลกกลับมีอำนาจมากกว่า "สภาสูง" ความเหนือชั้นกว่าของสภาล่างเกิดจากข้อจำกัดพิเศษที่บังคับใช้กับสภาสูง (ไม่ว่าจะเป็นไปตามกฎหมายหรือเห็นได้โดยชัดแจ้งในระเบียบวิธีการประชุม) ที่สามารถทำได้เพียงการชะลอการออกกฎหมายให้ช้าลง แต่ไม่อาจใช้อำนาจยับยั้งการออกกฎหมาย (veto)ได้ หรืออาจไม่มีอำนาจควบคุมกฎหมายเกี่ยวกับการเงิน ภายใต้ระบบรัฐสภาถือเป็นเรื่องปกติที่สภาล่างเท่านั้นที่มีอำนาจหน้าที่ในการกำหนดตัวหัวหน้ารัฐบาล หรือนายกรัฐมนตรี และยังสามารถถอดถอนผ่านการออกเสียงไม่ไว้วางใจได้อีกด้วย แต่ก็มีข้อยกเว้นอยู่บ้าง เช่น นายกรัฐมนตรีของญี่ปุ่น ซึ่งเลือกจากการสนับสนุนของทั้งสองสภาไดเอต การร่างกฎหมายที่ทำได้โดยสภาเดียวเรียกว่า "ระบบสภาเดียว".

ใหม่!!: รัฐสภากัมพูชาและสภาล่าง · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรกัมพูชา

ผู้แทนราษฎร (សភាតំណាងរាស្ត្រ สภาตํณางราสฺตฺร; Parliament) ชื่อเต็มว่า สภาผู้แทนราษฎรในพระราชาณาจักรกัมพูชา (សភាតំណាងរាស្ត្រនៃព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា สภาตํณางราสฺตฺรไนพฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นสภานิติบัญญัติระดับชาติของประเทศกัมพูชา ใช้ระบบสองสภา ประกอบด้วยสภาย่อย 2 สภา คือ.

ใหม่!!: รัฐสภากัมพูชาและสภาผู้แทนราษฎรกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์

มเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ (នរោត្ដម រណឬទ្ធិ นโรตฺฎม รณฤๅทฺธิ; ประสูติ 2 มกราคม พ.ศ. 2487) พระราชโอรสพระองค์ที่สองในพระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดม สีหนุ แห่งกัมพูชา และพระเชษฐาต่างพระมารดากับ พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี พระมหากษัตริย์กัมพูชาองค์ปัจจุบัน.

ใหม่!!: รัฐสภากัมพูชาและสมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จอัครมหาพญาจักรี เฮง สัมริน

มเด็จอัครมหาพญาจักรี เฮง สัมริน จอมพล สมเด็จอัครมหาพญาจักรี เฮง สัมริน (ស​ម្តេ​ច​អគ្គ​មហា​ពញា​ចក្រី​ ​ហេង​ ​សំ​រិ​ន​ ส​มฺเต​จ​อคฺค​มหา​พญา​จกฺรี​ ​เหง​ ​สํ​ริ​น​; เกิด ค.ศ. 1934) อดีตผู้นำกัมพูชา เคยดำรงตำแหน่งประธานสภาปฏิวัติประชาชนกัมพูชา ดำรงตำแหน่งผู้นำสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา และรัฐกัมพูชา ระหว่างปี..

ใหม่!!: รัฐสภากัมพูชาและสมเด็จอัครมหาพญาจักรี เฮง สัมริน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จอัครมหาธรรมโพธิศาล เจีย ซีม

ีย ซีม จอมพล สมเด็จอัครมหาธรรมโพธิศาล เจีย ซีม ศูนย์อินโดจีนศึกษา วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา, 23 ธันวาคม 2552 (សម្តេច​អគ្គមហាធម្មពោធិសាល ជា ស៊ីម สมฺเตจ​อคฺคมหาธมฺมโพธิสาล ชา สีม; 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1932 — 8 มิถุนายน ค.ศ. 2015) อดีตประธานสภาแห่งชาติกัมพูชา ระหว่างปี..

ใหม่!!: รัฐสภากัมพูชาและสมเด็จอัครมหาธรรมโพธิศาล เจีย ซีม · ดูเพิ่มเติม »

ซอน ซาน

ซอน ซาน ซอน ซาน (សឺន សាន สืน สาน; 5 ตุลาคม พ.ศ. 2454 - 19 ธันวาคม ค.ศ. 2000) เป็นนักการเมืองชาวกัมพูชาที่ต่อต้านคอมมิวนิสต์เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 24 ของกัมพูชา (พ.ศ. 2510 – 2511) และต่อมาเป็นประธานสมัชชาแห่งชาติ (พ.ศ. 2536) ตำแหน่งเต็มยศของเขาคือ สมเด็จบวรเศรษฐาธิบดี ซอน ซาน (ภาษาเขมร: សម្តេចបវរសេដ្ឋាធិបតី សឺន សាន).

ใหม่!!: รัฐสภากัมพูชาและซอน ซาน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

National Assembly of Cambodiaรัฐสภาเขมรสภาแห่งชาติกัมพูชาสมัชชาแห่งชาติกัมพูชา

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »