โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สภาพแข็งทื่อหลังตาย

ดัชนี สภาพแข็งทื่อหลังตาย

แข็งทื่อหลังตาย, สภาพศพแข็งทื่อ ปรับปรุงเมื่อ 6..

15 ความสัมพันธ์: กล้ามเนื้อการลดลงของอุณหภูมิร่างกายหลังตายการผ่าศพทางนิติเวชศาสตร์การเปลี่ยนแปลงหลังการตายรอยเขียวช้ำหลังตายลำตัวออกซิเจนอะดีโนซีนไตรฟอสเฟตขาตะคริวนิ้วมือน้ำอสุจิแอกตินแขนไมโอซิน

กล้ามเนื้อ

การจัดลำดับของกล้ามเนื้อโครงสร้าง กล้ามเนื้อ (muscle; มาจากภาษาละติน musculus "หนูตัวเล็ก") เป็นเนื้อเยื่อที่หดตัวได้ในร่างกาย เปลี่ยนแปลงมาจากเมโซเดิร์ม (mesoderm) ของชั้นเนื้อเยื่อในตัวอ่อน และเป็นระบบหนึ่งของร่างกายที่สำคัญต่อการเคลื่อนไหวทั้งหมดของร่างกาย แบ่งออกเป็นกล้ามเนื้อโครงร่าง (skeletal muscle), กล้ามเนื้อเรียบ (smooth muscle), และกล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle) ทำหน้าที่หดตัวเพื่อให้เกิดแรงและทำให้เกิดการเคลื่อนที่ (motion) รวมถึงการเคลื่อนที่และการหดตัวของอวัยวะภายใน กล้ามเนื้อจำนวนมากหดตัวได้นอกอำนาจจิตใจ และจำเป็นต่อการดำรงชีวิต เช่น การบีบตัวของหัวใจ หรือการบีบรูด (peristalsis) ทำให้เกิดการผลักดันอาหารเข้าไปภายในทางเดินอาหาร การหดตัวของกล้ามเนื้อที่อยู่ใต้อำนาจจิตใจมีประโยชน์ในการเคลื่อนที่ของร่างกาย และสามารถควบคุมการหดตัวได้ เช่นการกลอกตา หรือการหดตัวของกล้ามเนื้อควอดริเซ็บ (quadriceps muscle) ที่ต้นขา ใยกล้ามเนื้อ (muscle fiber) ที่อยู่ใต้อำนาจจิตใจแบ่งกว้างๆ ได้เป็น 2 ประเภทคือ กล้ามเนื้อ fast twitch และกล้ามเนื้อ slow twitch กล้ามเนื้อ slow twitch สามารถหดตัวได้เป็นระยะเวลานานแต่ให้แรงน้อย ในขณะที่กล้ามเนื้อ fast twitch สามารถหดตัวได้รวดเร็วและให้แรงมาก แต่ล้าได้ง.

ใหม่!!: สภาพแข็งทื่อหลังตายและกล้ามเนื้อ · ดูเพิ่มเติม »

การลดลงของอุณหภูมิร่างกายหลังตาย

การลดลงของอุณหภูมิร่างกายหลังตาย (Algor Mortis) เป็นการเปลี่ยนแปลงหลังการตายตามธรรมชาติอย่างหนึ่งของร่างกายมนุษย์ เมื่อตายลงด้วยอุบัติเหตุ ฆาตกรรมหรือตายโดยไม่ทราบสาเหตุ ฯลฯ อุณหภูมิของร่างกายจะเกิดการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติ คืออุณหภูมิภายในร่างกายจะค่อย ๆ ลดลงตามลำดับเช่น ตามปกติอุณหภูมิของร่างกายมนุษย์จะอยู่ที่อุณหภูมิประมาณ 36-37 องศาเซลเซียส เมื่อตายลงอุณหภูมิเฉลี่ยของร่างกายจะเกิดการเปลี่ยนแปลง โดยปกติหลังจากเสียชีวิต อุณหภูมิของร่างกายจะลดลงเฉลี่ย 1 องศาเซลเซียสต่อชั่วโมง ซึ่งการลดลงของอุณหภูมิร่างกายมนุษย์ อาจจะช่วยให้แพทย์ทางนิติเวชและพนักงานสอบสวน สามารถนำไปใช้ในการคำนวณเพื่อหาระยะเวลาการตายได้.

ใหม่!!: สภาพแข็งทื่อหลังตายและการลดลงของอุณหภูมิร่างกายหลังตาย · ดูเพิ่มเติม »

การผ่าศพทางนิติเวชศาสตร์

การผ่าศพทางนิติเวชศาสตร์ (Forensic Autopsy) เป็นการผ่าศพเพื่อศึกษาหาสาเหตุการตายเช่นเดียวกับการผ่าศพทางพยาธิวิทยา (Pathological Autopsy) คือแพทย์จะเริ่มตั้งแต่การตรวจสภาพศพภายนอก วิเคราะห์และตรวจสอบบาดแผลที่ปรากฏบนศพ รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ของสภาพร่างกายภายนอก ก่อนทำการผ่าศพเพื่อตรวจสอบสภาพอวัยวะภายใน เพื่อเป็นการค้นหาสาเหตุการตายรวมทั้งกลไกต่าง ๆ ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญในการบ่งบอกสาเหตุการตาย และในศพบางราย การผ่าศพทางนิติเวชศาสตร์อาจจะช่วยเป็นแนวทางสำคัญในการชี้เบาะแสให้ทราบถึงพฤติการณ์ในการตายได้ ส่วนวิธีการในการผ่าศพ แพทย์จะเลือกใช้มีดกรีดบริเวณผิวหนังให้เป็นรูปร่างใด จากตำแหน่งใด ขึ้นอยู่กับความจำเป็นที่จะต้องเลือกใช้ในแต่ละรายให้เหมาะสม เพื่อให้ได้รายละเอียดและข้อมูลตามต้องการการผ่าศพทางนิติเวชศาสตร์, นิติเวชศาสตร์ สำหรับพนักงานสอบสวน, พล.ต.ต.เลี้ยง หุยประเสริฐ,., อว.

ใหม่!!: สภาพแข็งทื่อหลังตายและการผ่าศพทางนิติเวชศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย

การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย (Postmortem Change) เป็นการเปลี่ยนแปลงของปฏิกิริยาหลายอย่างภายในร่างกายของมนุษย์เมื่อเสียชีวิต ซึ่งแพทย์จะต้องนำสิ่งที่ตรวจพบในศพมาประเมินเพื่อหาสาเหตุและระยะเวลาของการตาย เพื่อประสานงานให้แก่พนักงานสอบสวนเพื่อใช้ในการติดตามค้นหาพยานหลักฐานในการจับกุมตัวผู้กระทำความผิดมารับโทษ การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย จะเกิดขึ้นเมื่อมีการตาย ซึ่งการตายนั้นอาจเกิดจากการฆ่าตัวตายหรือถูกบุคคลอื่นกระทำจนถึงแก่ความตาย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 15 ระบุไว้ว่า "สภาพบุคคลย่อมเริ่มแต่เมื่อคลอดและอยู่รอดเป็นทารก สิ้นสุดลงเมื่อตาย" และตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร์ พ.ศ. 2499 ระบุไว้ว่า "คนตาย หมายความว่าคนสิ้นชีวิตเท่านั้น ลูกตายในท้อง หมายถึงลูกที่อยู่ในครรภ์มารดาเป็นเวลาเกินกว่า 28 สัปดาห์และคลอดออกมาโดยไม่มีชีวิต" ส่วนการตายตามหลักวิชาการแพทย์หมายถึง การหยุดทำงานของสมอง ระบบหายใจ และระบบไหลเวียนโลหิต.

ใหม่!!: สภาพแข็งทื่อหลังตายและการเปลี่ยนแปลงหลังการตาย · ดูเพิ่มเติม »

รอยเขียวช้ำหลังตาย

รอยเขียวช้ำหลังตาย ปรับปรุงเมื่อ 6..

ใหม่!!: สภาพแข็งทื่อหลังตายและรอยเขียวช้ำหลังตาย · ดูเพิ่มเติม »

ลำตัว

ลำตัวของมนุษย์เพศชาย ลำตัว (Torso หรือ trunk) เป็นศัพท์ที่เรียกส่วนตรงกลางของร่างกายสัตว์หลายชนิด (รวมถึงมนุษย์) ซึ่งมีรยางค์และลำคอที่ยื่นออกไป ลำตัวประกอบด้วยอก (thorax) และท้อง (abdomen).

ใหม่!!: สภาพแข็งทื่อหลังตายและลำตัว · ดูเพิ่มเติม »

ออกซิเจน

ออกซิเจน (Oxygen) เป็นธาตุในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ O และเลขอะตอม 8 ธาตุนี้พบมาก ทั้งบนโลกและทั่วทั้งจักรวาล โมเลกุลออกซิเจน (O2 หรือที่มักเรียกว่า free oxygen) บนโลกมีความไม่เสถียรทางเทอร์โมไดนามิกส์จึงเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันกับธาตุอื่น ๆ ได้ง่าย ออกซิเจนเกิดขึ้นครั้งแรกในโลกจากการสังเคราะห์ด้วยแสงของแบคทีเรียและพื.

ใหม่!!: สภาพแข็งทื่อหลังตายและออกซิเจน · ดูเพิ่มเติม »

อะดีโนซีนไตรฟอสเฟต

อะดีโนซีนไตรฟอสเฟต (adenosine triphosphate: ATP) เป็นสารให้พลังงานสูงแก่เซลล์ ผลิตจากกระบวนการสังเคราะห์แสง หรือการหายใจระดับเซลล์และถูกใช้โดยกระบวนการต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น สลายอาหาร, active transport,move ในสิ่งมีชีวิต ATP ถูกสร้างขึ้นด้วยวิถีทางต่าง ๆ ดังนี้.

ใหม่!!: สภาพแข็งทื่อหลังตายและอะดีโนซีนไตรฟอสเฟต · ดูเพิ่มเติม »

ขา

แผนภาพของขาแมลง ขา เป็นส่วนหนึ่งในร่างกายของสัตว์ที่รองรับน้ำหนักทั้งหมด อยู่ระหว่างข้อเท้าและสะโพก ใช้ในการเคลื่อนที่ ปลายสุดของขามักเป็นโครงสร้างที่พัฒนาหรือเปลี่ยนแปลงเป็นโครงสร้างอื่นที่รับน้ำหนักของสัตว์บนพื้น (ดู เท้า) รยางค์ล่าง (lower limb) ของสัตว์มีกระดูกสันหลังที่มีสองขา (bipedal vertebrate) มักจะเป็นขาของสัตว์นั้นๆ ส่วนรยางค์บน (upper limb) มักจะเป็นแขนหรือปีก จำนวนขาของสัตว์มักเป็นจำนวนคู่ นักอนุกรมวิธานอาจจัดสัตว์ออกเป็นกลุ่มตามจำนวน.

ใหม่!!: สภาพแข็งทื่อหลังตายและขา · ดูเพิ่มเติม »

ตะคริว

ตะคริว (Cramp) คือภาวะที่มีการหดเกร็งของกล้ามเนื้อโดยไม่คลายตัวออกตามปกติ มักเกิดขึ้นตามกล้ามเนื้อแขนและขา ปกติจะเกิดขึ้นเพียงไม่กี่นาที แต่บางรายอาจรุนแรงและนาน บางรายเป็นชั่วโมงหรือมากกว่านั้น ก่อให้เกิดความเจ็บปวดทรมาน แม้จะไม่ส่งผลอันตรายร้ายแรง แต่หากเกิดขึ้นระหว่างขับรถหรือว่ายน้ำ อาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุและอันตรายถึงชีวิตได้ โดยทั่วไป ตะคริวมักเกิดกับนักกีฬาที่ออกกำลังหนักหรือมากเกินไป ผู้สูงอายุ สตรีมีครรภ์ และผู้สูบบุหรี่จัด สาเหตุทั่วไปของตะคริวที่เกิดขึ้นกับกล้ามเนื้อโครงร่าง หรือกล้ามเนื้อลาย มักเกิดจากการเมื่อยล้าของกล้ามเนื้อ ระดับโซเดียมและโปรแตสเซียมในร่างกายต่ำ หรือจากการที่ร่างกายพบกับการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิที่ต่างกันมากอย่างรวดเร็ว ร่างกายขาดน้ำหรือเสียเหงื่อมาก ระดับเกลือในร่างกายต่ำ ส่วนตะคริวที่เกิดขึ้นกับกล้ามเนื้อเรียบ อาจเกิดกับสตรีเวลาที่มีประจำเดือน หรือเกิดจากอาการกระเพาะหรือลำไส้อัก.

ใหม่!!: สภาพแข็งทื่อหลังตายและตะคริว · ดูเพิ่มเติม »

นิ้วมือ

นิ้วมือ เป็นอวัยวะส่วนหนึ่งของร่างกาย ซึ่งประกอบไปด้วย กระดูก กล้ามเนื้อ เส้นเลือด เอ็น และผิวหนังห่อหุ้ม มีตำแหน่งอยู่ตรงปลายสุดของแขนถัดจากมือ ซึ่งสามรถเคลื่อนไหวได้โดยการสั่งการของสมองและระบบประสาท.

ใหม่!!: สภาพแข็งทื่อหลังตายและนิ้วมือ · ดูเพิ่มเติม »

น้ำอสุจิ

น้ำอสุจิ น้ำอสุจิ (Semen, seminal fluid) เป็นสารประกอบอินทรีย์เหลวที่อาจมีตัวอสุจิอยู่ ในภาษาบาลี อะ แปลว่าไม่ สุจิ หรือสุจี แปลว่าสะอาด น้ำอสุจิ จึงแปลว่า น้ำที่ไม่สะอาด เป็นน้ำที่หลั่งออกจากอวัยวะสร้างเซลล์สืบพันธุ์และจากอวัยวะทางเพศอื่น ๆ ของสัตว์เพศชาย และสามารถทำการผสมพันธุ์กับไข่ของเพศหญิงได้ ในมนุษย์ น้ำอสุจิมีองค์ประกอบอื่น ๆ นอกจากตัวอสุจิ คือมีเอนไซม์ต่าง ๆ และน้ำตาลประเภทฟรุกโทส ที่ช่วยเลี้ยงตัวอสุจิให้ดำรงรอดอยู่ได้ และเป็นสื่อเพื่อที่ตัวอสุจิจะเคลื่อนที่ หรือ "ว่ายน้ำ" ไปได้ น้ำอสุจิโดยมากเกิดจากต่อมสร้างน้ำเลี้ยงอสุจิ"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ seminal vesicle ว่า "ถุงน้ำอสุจิ, ถุงพักน้ำอสุจิ" (หรือมีชื่ออื่นว่า ถุงน้ำอสุจิ, ถุงพักน้ำอสุจิ) ซึ่งเป็นอวัยวะอยู่ที่เชิงกราน แต่ว่าตัวอสุจิเองสร้างจากอัณฑะ ส่วนกระบวนการที่นำไปสู่การปล่อยน้ำอสุจิเรียกว่า การหลั่งน้ำอสุจิ ในมนุษย์ น้ำอสุจิเป็นของเหลวสีขาวข้นที่หลั่งออกโดยผู้ชาย เมื่อถึงจุดสุดยอด เมื่อมีเพศสัมพันธ์ เมื่อมีการสำเร็จความใคร่ หรือเมื่อขับออกตามธรรมชาติที่เรียกว่าฝันเปียก โดยจะมีการหลั่งน้ำอสุจิแต่ละครั้งประมาณ 3-4 ซีซี มีจำนวนตัวอสุจิเฉลี่ยประมาณ 300-500 ล้านตัว.

ใหม่!!: สภาพแข็งทื่อหลังตายและน้ำอสุจิ · ดูเพิ่มเติม »

แอกติน

แอกติน (actin) คือ โปรตีนชนิดหนึ่งซึ่งมีรูปร่างกลม (globular protein, G-actin) พบได้ในบกล้ามเนื้อ ทำงานร่วมกับไมโอซินช่วยให้กล้ามเนื้อมีการหดตัวและคลายตัว เป็นผลให้อวัยวะสามารถเคลื่อนตัวและช่วยให้ร่างกายของเราสามารถเคลื่อนที่ไปไหนมาไหนได้.

ใหม่!!: สภาพแข็งทื่อหลังตายและแอกติน · ดูเพิ่มเติม »

แขน

แขน เป็นส่วนหนึ่งในร่างกายของมนุษย์อยู่ระหว่างไหล่กับข้อศอก ใช้ในการเคลื่อนที่ สัตว์บางชนิดจะมีแขนเช่นลิงในการหยิบจับหรือคลาน ส่วนปลายแขนหมายถึงแขนตั้งแต่ไหล่จนถึงข้อศอก ต้นแขนหมายถึงหมายถึงแขนตั้งแต่ข้อศอกจนถึงมือ โครงสร้างของแขน.

ใหม่!!: สภาพแข็งทื่อหลังตายและแขน · ดูเพิ่มเติม »

ไมโอซิน

มโอซิน (myosin) คือโปรตีนที่พบในเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อลาย มีขนาดใหญ่, หนา และสีเข้มกว่าแอกติน ไมโอซินจัดเป็นโปรตีนขับเคลื่อน (motor protein) ชนิดหนึ่ง ซึ่งทำหน้าที่ช่วยในการเคลื่อนไหวภายในเซลล์และเนื้อเยื่อ โดยอาศัยพลังงาน ATP ในการเคลื่อนที่ไปตามสายเอฟแอกติน (F-actin) ที่พันกันเป็นเกลียวอยู่กับโทรโปไมโอซิน (tropomyosin) และโทรโปรนิน (troponin) ไมโอซิน.

ใหม่!!: สภาพแข็งทื่อหลังตายและไมโอซิน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Rigor Mortisการแข็งตัวของกล้ามเนื้อสภาพศพแข็งทื่อไรกอร์ มอร์ติส

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »