เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สนามแม่เหล็กวิกฤติ

ดัชนี สนามแม่เหล็กวิกฤติ

สนามแม่เหล็กสามารถทำลายสภาพการนำไฟฟ้ายวดยิ่งให้กลายเป็นสภาพปกติได้ ค่าสนามแม่เหล็กที่น้อยที่สุดสามารถทำลายสภาพการนำไฟฟ้ายวดยิ่งได้พอดี สนามแม่เหล็กวิกฤติจะขึ้นกับอุณหภูมิด้วยคือ ที่อุณหภูมิวิกฤติค่าสนามแม่เหล็กวิกฤติจะเป็นศูนย์ สำหรับที่อุณหภูมิต่ำกว่าอุณหภูมิวิกฤติค่าสนามแม่เหล็กวิกฤติจะหาได้จากสมการ Hc และ Ho แทน ค่าความเข้มสนามแม่เหล็กวิกฤติที่อุณหภูมิต่ำกว่าอุณหภูมิวิกฤติ และที่อุณหภูมิ 0 k ตามลำดับ T และ Tc แทน อุณหภูมิต่ำกว่าอุณหภูมิวิกฤติ และอุณหภูมิวิกฤติตามลำดับ: ค่าสนามแม่เหล็กวิกฤติจึงถูกใช้เป็นตัวจำกัดกระแสไฟฟ้าที่จะให้ไหลผ่านตัวนำไฟฟ้ายวดยิ่ง คือ กระแสไฟฟ้าสูงสุดที่ไหลผ่านตัวนำไฟฟ้ายวดยิ่งจะต้องไม่ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กเท่ากับค่าสนามแม่เหล็กวิกฤติที่อุณหภูมินั้นๆ.

สารบัญ

  1. 3 ความสัมพันธ์: กระแสไฟฟ้าสนามแม่เหล็กอุณหภูมิวิกฤติ

กระแสไฟฟ้า

วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย โดยที่กระแสถูกแสดงด้วยอักษร ''i'' ความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันไฟฟ้า (V), ตัวต้านทาน (R), และกระแส (I) คือ V.

ดู สนามแม่เหล็กวิกฤติและกระแสไฟฟ้า

สนามแม่เหล็ก

กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านเส้นลวดทำให้เกิดสนามแม่เหล็ก (M) รอบๆ บริเวณเส้นลวด ทิศทางของสนามแม่เล็กที่เกิดขึ้นนี้เป็นไปตามกฎมือขวา กฎมือขวา Hans Christian Ørsted, ''Der Geist in der Natur'', 1854 สนามแม่เหล็ก นั้นอาจเกิดขึ้นได้จากการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า หรือในทางกลศาสตร์ควอนตัมนั้น การสปิน(การหมุนรอบตัวเอง) ของอนุภาคต่างๆ ก็ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กเช่นกัน ซึ่งสนามแม่เหล็กที่เกิดจากการ สปิน เป็นที่มาของสนามแม่เหล็กของแม่เหล็กถาวรต่างๆ สนามแม่เหล็กคือปริมาณที่บ่งบอกแรงกระทำบนประจุที่กำลังเคลื่อนที่ สนามแม่เหล็กเป็นสนามเวกเตอร์และทิศของสนามแม่เหล็ก ณ ตำแหน่งใดๆ คือทิศที่เข็มของเข็มทิศวางตัวอย่างสมดุล เรามักจะเขียนแทนสนามแม่เหล็กด้วยสัญลักษณ์ \mathbf\ เดิมทีแล้ว สัญลักษณ์ \mathbf \ นั้นถูกเรียกว่าความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็กหรือความเหนี่ยวนำแม่เหล็ก ในขณะที่ \mathbf.

ดู สนามแม่เหล็กวิกฤติและสนามแม่เหล็ก

อุณหภูมิวิกฤติ

อุณหภูมิวิกฤต (critical temperature) คืออุณหภูมิที่โลหะมีสภาพนำไฟฟ้ายวดยิ่ง เมื่อลดอุณหภูมิของตัวนำยวดยิ่งลง ค่าความต้านทานไฟฟ้าจะเป็นศูนย์อย่างทันทีทันใด ซึ่งเป็นสมบัติเบื้องต้นของตัวนำยวดยิ่งทุกประเภทและเป็นที่มาของชื่อตัวนำยวดยิ่ง หรือ superconductor ด้ว.

ดู สนามแม่เหล็กวิกฤติและอุณหภูมิวิกฤติ