สารบัญ
8 ความสัมพันธ์: พันธมิตรทางการทหารฝรั่งเศส-โปแลนด์สันนิบาตชาติสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2สนธิสัญญาแวร์ซายอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ฉนวนโปแลนด์นาซีเยอรมนีเสรีนครดันท์ซิช
พันธมิตรทางการทหารฝรั่งเศส-โปแลนด์
นธิสัญญาพันธมิตรทางการทหารระหว่างฝรั่งเศส-โปแลนด์ มักจะหมายถึง พันธมิตรทางการทหารระหว่างสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สองกับฝรั่งเศส ซึ่งมีผลอยู่ระหว่าง ค.ศ.
ดู สนธิสัญญาไม่รุกรานเยอรมนี–โปแลนด์และพันธมิตรทางการทหารฝรั่งเศส-โปแลนด์
สันนิบาตชาติ
ันนิบาตชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นใน..
ดู สนธิสัญญาไม่รุกรานเยอรมนี–โปแลนด์และสันนิบาตชาติ
สาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2
รณรัฐโปแลนด์ที่ 2 หรือเครือจักรภพโปแลนด์ที่สองหรือโปแลนด์ระหว่างสงคราม หมายความถึงประเทศโปแลนด์ระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและครั้งที่สอง (ค.ศ.
ดู สนธิสัญญาไม่รุกรานเยอรมนี–โปแลนด์และสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2
สนธิสัญญาแวร์ซาย
''The Signing of the Peace Treaty of Versailles'' สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles) เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ.
ดู สนธิสัญญาไม่รุกรานเยอรมนี–โปแลนด์และสนธิสัญญาแวร์ซาย
อดอล์ฟ ฮิตเลอร์
อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) เป็นนักการเมืองเยอรมันเชื้อชาติออสเตรีย หัวหน้าพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ พรรคนาซี ฮิตเลอร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี ระหว่าง..
ดู สนธิสัญญาไม่รุกรานเยอรมนี–โปแลนด์และอดอล์ฟ ฮิตเลอร์
ฉนวนโปแลนด์
The Polish Corridor in 1923–1939 ฉนวนโปแลนด์ (Polnischer Korridor; Pomorze, Korytarz polski), หรือที่รู้จักในชื่อ ฉนวนดานซิก, ฉนวนสู่ทะเล หรือ ฉนวนกดัญสก์, เป็นดินแดนของภูมิภาคPomerelia (จังหวัดปอมอแช, พอเมอเรเนียตะวันออก, อดีตเป็นส่วนหนึ่งของปรัสเซียตะวันตก) โดยดินแดนเป็นของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง ซึ่งทำให้โปแลนด์มีทางออกสู่ทะเลและแยกปรัสเซียตะวันออกออกจากเยอรมนีแผ่นดินใหญ่ ส่งผลให้อาณาเขตโดยประมาณของฉนวนกลับไปมีขนาดเท่ายุค Polish Crown ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ Royal Prussia ในปี 1466–1772.
ดู สนธิสัญญาไม่รุกรานเยอรมนี–โปแลนด์และฉนวนโปแลนด์
นาซีเยอรมนี
นาซีเยอรมนี (Nazi Germany) หรือ ไรช์ที่สาม (Drittes Reich) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ไรช์เยอรมัน (Deutsches Reich) เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์เยอรมนีระหว่างปี 1933 ถึง 1945 เมื่อประเทศเยอรมนีอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบเผด็จการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ในการปกครองของฮิตเลอร์ ประเทศเยอรมนีกลายเป็นรัฐฟาสซิสต์ซึ่งควบคุมแทบทุกแง่มุมของชีวิต นาซีเยอรมนีล่มสลายหลังฝ่ายสัมพันธมิตรพิชิตเยอรมนีในเดือนพฤษภาคม 1945 ซึ่งยุติสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กแต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม 1933 จากนั้น พรรคนาซีเริ่มกำจัดคู่แข่งทางการเมืองและรวบอำนาจ ฮินเดนบูร์กถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 1934 และฮิตเลอร์เป็นผู้เผด็จการแห่งเยอรมนีโดยการรวมอำนาจและตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี มีการจัดการลงประชามติทั่วประเทศเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1934 ทำให้ฮิตเลอร์เป็นฟือเรอร์ (ผู้นำ) เยอรมนีเพียงผู้เดียว อำนาจเบ็ดเสร็จทั้งหมดรวมอยู่ในมือของฮิตเลอร์ และคำของเขาอยู่เหนือกฎหมายทั้งปวง รัฐบาลมิได้เป็นหน่วยที่ร่วมมือประสานกัน หากแต่เป็นหมู่กลุ่มแยกต่าง ๆ ที่แก่งแย่งอำนาจและความนิยมจากฮิตเลอร์ ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ นาซีฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและยุติการว่างงานขนานใหญ่โดยใช้รายจ่ายทางทหารอย่างหนักและเศรษฐกิจแบบผสม มีการดำเนินการโยธาสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมการก่อสร้างเอาโทบาน การคืนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจส่งเสริมความนิยมของรัฐบาลให้เพิ่มพูนขึ้น คตินิยมเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การต่อต้านยิว เป็นลักษณะหัวใจของนาซีเยอรมนี โดยถือว่า กลุ่มชนเจอร์มานิค หรือเชื้อชาตินอร์ดิก (Nordic race) เป็นเชื้อชาติอารยันซึ่งบริสุทธิ์ที่สุด ฉะนั้นจึงเป็นเชื้อชาติปกครอง (master race) ชาวยิวและชนกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกเบียดเบียนหรือฆ่า และการค้านการปกครองของฮิตเลอร์ถูกปราบปรามอย่างโหดเหี้ยม สมาชิกฝ่ายค้านเสรีนิยม สังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ถูกฆ่า จำคุกหรือเนรเทศ โบสถ์คริสต์ก็ถูกกดขี่เช่นกัน โดยผู้นำหลายคนถูกจำคุก การศึกษามุ่งเน้นชีววิทยาเชื้อชาติ นโยบายประชากร และสมรรถภาพทางกายสำหรับราชการทหาร โอกาสในอาชีพและการศึกษาของสตรีถูกตัดทอน มีการจัดนันทนาการและการท่องเที่ยวผ่านโครงการความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง (Strength Through Joy) มีการใช้โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 เป็นตัวนำเสนอไรช์ที่สามในเวทีระหว่างประเทศ รัฐมนตรีโฆษณาการ โยเซฟ เกิบเบิลส์ ใช้ภาพยนตร์ การชุมนุมมวลชน และวาทศิลป์จับจิตของฮิตเลอร์เพื่อควบคุมมติมหาชนอย่างได้ผล รัฐบาลควบคุมการแสดงออกทางศิลปะ โดยสนับสนุนศิลปะบางรูปแบบ แต่ขัดขวางหรือห้ามศิลปะรูปแบบอื่น เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 นาซีเยอรมนีเรียกร้องดินแดนอย่างก้าวร้าวมากขึ้นเรื่อย ๆ และขู่ทำสงครามหากไม่สนองข้อเรียกร้อง เยอรมนียึดออสเตรียและเชโกสโลวาเกียในปี 1938 และ 1939 ฮิตเลอร์ทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับโจเซฟ สตาลิน และบุกครองโปแลนด์ในเดือนกันยายน 1939 เป็นการเปิดฉากสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป เยอรมนีเข้าเป็นพันธมิตรกับอิตาลีและฝ่ายอักษะที่เล็กกว่าและพิชิตทวีปยุโรปส่วนใหญ่เมื่อถึงปี 1940 และคุกคามสหราชอาณาจักร ไรช์ซคอมมิสซารีอัทควบคุมพื้นที่ที่ถูกพิชิตอย่างโหดร้ายและมีการสถาปนาการปกครองของเยอรมนีในประเทศโปแลนด์ที่เหลืออยู่ ชาวยิวและกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกจำคุกในค่ายกักกันและค่ายกำจัดนาซี การนำนโยบายเชื้อชาติของระบอบไปปฏิบัติลงเอยด้วยการสังหารชาวยิวและชนกลุ่มน้อยอื่นเป็นอันมากในฮอโลคอสต์ หลังการรุกรานสหภาพโซเวียตในปี 1941 นาซีเยอรมนีก็เริ่มเป็นรอง และปราชัยทางทหารสำคัญหลายครั้งในปี 1943 การทิ้งระเบิดทางอากาศต่อประเทศเยอรมนีทวีขึ้นในปี 1944 และฝ่ายอักษะถอยจากยุโรปตะวันออกและยุโรปใต้ หลังการบุกครองฝรั่งเศสของสัมพันธมิตร ประเทศเยอรมนีถูกโซเวียตจากทิศตะวันออกและฝ่ายสัมพันธมิตรจากทิศตะวันตกพิชิตและยอมจำนนในหนึ่งปี การที่ฮิตเลอร์ปฏิเสธยอมรับความปราชัยนำให้โครงสร้างพื้นฐานของเยอรมนีถูกทำลายล้างขนานใหญ่และการเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสงครามเพิ่มในเดือนท้าย ๆ ของสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้กำชัยริเริ่มนโยบายขจัดความเป็นนาซี (denazification) และนำผู้นำนาซีที่เหลือรอดหลายคนมาพิจารณาคดีอาชญากรรมสงครามในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ส่วนประเทศเยอรมนีถูกยึดครองโดยมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร.
ดู สนธิสัญญาไม่รุกรานเยอรมนี–โปแลนด์และนาซีเยอรมนี
เสรีนครดันท์ซิช
รีนครดันท์ซิช (Freie Stadt Danzig; Wolne Miasto Gdańsk) เป็นเมืองของรัฐกึ่งอิสระที่มีอยู่ระหว่างปี 1920 และ 1939 ประกอบด้วยท่าเรือบนทะเลบอลติกของเมืองดันท์ซิชและเมืองเกือบ 200 เมืองในพื้นที่โดยรอ.ถูกสร้างขึ้นเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 1920 ตามเงื่อนไขของมาตรา 100 (มาตรา 10 ของหน้า 3) ของสนธิสัญญาแวร์ซาย หลังจากการสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง นครเสรีรวมเมืองดันท์ซิชและเมือง หมู่บ้าน และถิ่นฐานใกล้เคียงอื่น ๆ ที่ได้ตั้งที่อยู่อาศัยเป็นหลักโดยชาวเยอรมัน ตามสนธิสัญญาได้ระบุเอาไว้ ภูมิภาคจะยังคงแยกออกมาจากหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (สาธารณรัฐไวมาร์) และประเทศที่ได้รับเอกราชใหม่ของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง ("โปแลนด์ในช่วงสมัยระหว่างสงคราม") แต่ก็ไม่ได้เป็นรัฐเอกราช เมืองเสรีนครอยู่ภายใต้การคุ้มครองของสันนิบาตชาติและถูกบรรจุลงในความผูกผันทางด้านสหภาพศุลกากรกับโปแแลนด์ ประเทศโปแลนด์ได้รับสิทธิในการพัฒนาและดูแลในด้านการขนส่ง การสื่อสาร และความอำนวยความสะดวกบนท่าเรือในเมือง เสรีนครได้รับการจัดตั้งขึ้นเพื่อให้โปแลนด์สามารถเข้าถึงท่าเรือขนาดพอดี ในขณะที่ประชากรของเมืองส่วนใหญ่เป็นชาวเยอรมัน มีชนกลุ่มน้อยชาติพันธุ์โปแลนด์อย่างมีนัยสำคัญเช่นกัน ประชาชนชาวเยอรมันไม่พอใจอย่างมากที่ถูกแยกออกจากเยอรมนี ถูกรังแกข่มเหงจากชนกลุ่มน้อยชาวโปแลนด์ นี่คือความจริงโดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจากที่พรรคนาซีได้เข้ามาควบคุมทางการเมืองในปี 1935-1936.
ดู สนธิสัญญาไม่รุกรานเยอรมนี–โปแลนด์และเสรีนครดันท์ซิช
หรือที่รู้จักกันในชื่อ สนธิสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างเยอรมัน-โปแลนด์