สารบัญ
12 ความสัมพันธ์: กิโลเมตรสถานีรถไฟชุมพรสถานีรถไฟชุมทางหาดใหญ่สถานีรถไฟกรุงเทพสถานีรถไฟกันตังสถานีรถไฟสุราษฎร์ธานีสถานีรถไฟสุไหงโก-ลกสถานีรถไฟห้วยปริกสถานีรถไฟทานพออำเภอฉวางจังหวัดนครศรีธรรมราชทางรถไฟสายใต้
กิโลเมตร
กิโลเมตร อักษรย่อ กม. (mètre, km) เป็นหน่วยวัดความยาว มีขนาดเท่ากับ 1 × 103 เมตร.
ดู สถานีรถไฟกระเบียดและกิโลเมตร
สถานีรถไฟชุมพร
นีรถไฟชุมพร ตั้งอยู่ ถนนนวมินทร์รวมใจ ตำบลท่าตะเภา อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ของทางรถไฟสายใต้ สถานีชุมพร เป็นจุดเติมน้ำมัน จุดแรก ของทางรถไฟสายใต้ หลังจากออกมาจากสถานีกรุงเทพ, สถานีธนบุรี และ ย่านรับส่งสินค้าพหลโยธิน และ รถไฟจากเส้นทางสายใต้ทุกขบวนที่จะเข้าสถานีกรุงเทพ สถานีธนบุรี และย่านรับส่งสินค้าพหลโยธิน ดังนั้นรถไฟต้องจอดทุกขบวน.
ดู สถานีรถไฟกระเบียดและสถานีรถไฟชุมพร
สถานีรถไฟชุมทางหาดใหญ่
นีรถไฟชุมทางหาดใหญ่ ตั้งอยู่บนถนนรถไฟ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เป็นสถานีรถไฟ ระดับ 1 ของทางรถไฟสายใต้ โดยจากจุดนี้ทางรถไฟจะแยกออกเป็นสองสาย คือ.
ดู สถานีรถไฟกระเบียดและสถานีรถไฟชุมทางหาดใหญ่
สถานีรถไฟกรุงเทพ
นอกสถานีรถไฟกรุงเทพ ภายในสถานีรถไฟกรุงเทพ สถานีรถไฟกรุงเทพ หรือที่นิยมเรียกกันว่า สถานีรถไฟหัวลำโพง เป็นสถานีรถไฟหลักของประเทศไทย และเป็นสถานีที่เก่าแก่ที่สุด สร้างในสมัย รัชกาลที่ 5 ในปี พ.ศ.
ดู สถานีรถไฟกระเบียดและสถานีรถไฟกรุงเทพ
สถานีรถไฟกันตัง
ทางรถไฟฝั่งอันดามัน ตัวอาคารสถานี สถานีรถไฟกันตัง (Kantang Railway Station) เป็นสถานีปลายทางของทางรถไฟสายใต้ ฝั่งทะเลอันดามัน ตั้งอยู่ที่ถนนหน้าค่าย ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 850.08 กิโลเมตร เป็นสถานีรถไฟชั้น 3 ของทางรถไฟสายใต้ ฝั่งทะเลอันดามัน ใช้สัญญาณแบบหลักเขตสถานี ตัวย่อของสถานีคือ กต.
ดู สถานีรถไฟกระเบียดและสถานีรถไฟกันตัง
สถานีรถไฟสุราษฎร์ธานี
นีรถไฟสุราษฎร์ธานี สถานีรถไฟสุราษฎร์ธานี หรือเดิมชื่อ สถานีรถไฟพุนพิน เปิดเมื่อปี 2458 แต่ได้เปลี่ยนชื่อในราวๆ ปี 25xx เพื่อให้สอดคล้องกับชื่อจังหวัด เป็นสถานีรถไฟประจำจังหวัดสุราษฎร์ธานี ตั้งอยู่ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำตาปี ตำบลท่าข้าม อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ห่างจากตัวอำเภอเมืองสุราษฎร์ธานีประมาณ 12 กิโลเมตร เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ของทางรถไฟสายใต้ อาคารสถานีสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.
ดู สถานีรถไฟกระเบียดและสถานีรถไฟสุราษฎร์ธานี
สถานีรถไฟสุไหงโก-ลก
นีรถไฟสุไหงโก-ลก ตั้งอยู่บนถนนสายเอเชีย 18 เขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ของทางรถไฟสายใต้และสถานีสุดท้ายของทางรถไฟสายใต้ โดยสุดเขตแดนเมืองรันตูปันยัง ประเทศมาเลเซีย และมีระยะทางห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพมากที่สุด ถึง 1,142 กิโลเมตร.
ดู สถานีรถไฟกระเบียดและสถานีรถไฟสุไหงโก-ลก
สถานีรถไฟห้วยปริก
นีรถไฟห้วยปริก ตั้งอยู่บนทางหลวง 4224 ตำบลห้วยปริก อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.
ดู สถานีรถไฟกระเบียดและสถานีรถไฟห้วยปริก
สถานีรถไฟทานพอ
นีรถไฟทานพอ ตั้งอยู่บ้านทานพอ หมู่ 3 ตำบลไม้เรียง อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นสถานีรถไฟชั้น 2 ของทางรถไฟสายใต้ สถานีรถไฟทานพอ เคยถูกกลุ่มบุคคลเผาทำลายไหม้ทั้งหลัง เมื่อปี พ.ศ.
ดู สถานีรถไฟกระเบียดและสถานีรถไฟทานพอ
อำเภอฉวาง
ฉวาง เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นภูมิลำเนาเดิมของนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ นายกรัฐมนตรีคนที่ 26 ของประเทศไท.
ดู สถานีรถไฟกระเบียดและอำเภอฉวาง
จังหวัดนครศรีธรรมราช
นครศรีธรรมราช เป็นจังหวัดในประเทศไทย มีประชากรมากที่สุดในภาคใต้และมีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของภาคใต้ (รองจากสุราษฎร์ธานี) ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 780 กิโลเมตร มีจังหวัดที่อยู่ติดกันได้แก่ สงขลา พัทลุง ตรัง กระบี่ และสุราษฎร์ธานี ในอดีต มีชื่อเรียกดินแดนแถบนี้หลายชื่อ เช่น ในคัมภีร์มหานิเทศของอินเดีย ที่เขียนขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 7-8 เรียกว่า "ตามพรลิงก์" หรืออาณาจักรตามพรลิงก์, บันทึกโบราณของเมืองจีนเรียก "เซี้ยะ-โท้ว (ถู-กวั่ว) ", "รักตะมฤติกา" (จารึกภาษาสันสกฤต) ซึ่งล้วนหมายถึง "ดินแดนที่มีดินสีแดง", ตะวันตกนิยมเรียกกันมา จนกระทั่งต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 คือ "ลิกอร์" สันนิษฐานว่าชาวโปรตุเกสที่เข้ามาติดต่อค้าขายในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น เป็นผู้เรียกก่อน โดยเพี้ยนมาจากคำว่า "นคร" ส่วนชื่อ "นครศรีธรรมราช" มาจากพระนามของกษัตริย์ผู้ครองนครในอดีต มีพระนามว่า "พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช" (ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช) มีความหมายว่า "นครอันเป็นสง่าแห่งพระราชาผู้ทรงธรรม" หรือ "เมืองแห่งพุทธธรรมของพระราชาผู้ยิ่งใหญ่" ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมืองนครศรีธรรมราชมีฐานะเป็นหัวเมืองชั้นเอกคู่กับเมืองพิษณุโลก มีขุนนางชั้นผู้ใหญ่ระดับเจ้าพระยาเป็นเจ้าเมือง มีบรรดาศักดิ์ตามพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหารหัวเมือง ว่า เจ้าพระยาศรีธรรมราชชาติเดโชไชยมไหยสุริยาธิบดีอภัยพิรียบรากรมภาห.
ดู สถานีรถไฟกระเบียดและจังหวัดนครศรีธรรมราช
ทางรถไฟสายใต้
ทางรถไฟสายใต้ เป็นทางรถไฟที่เริ่มต้นจากสถานีรถไฟธนบุรี กรุงเทพมหานคร ผ่านจังหวัดนครปฐม, ราชบุรี, เพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ์, ชุมพร, สุราษฎร์ธานี, นครศรีธรรมราช, พัทลุง, สงขลา, ปัตตานี, ยะลา และไปสุดปลายทางที่สถานีรถไฟสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส และไปบรรจบกับทางรถไฟของประเทศมาเลเซีย ที่สถานีรถไฟรันเตาปันจาง ทางรถไฟสายใต้สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจากสถานีรถไฟธนบุรีถึงสถานีรถไฟเพชรบุรี ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ขยายเส้นทางไปภาคใต้และสร้างทางแยกที่สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาที่สะพานพระรามหกไปบรรจบกันที่สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน เพื่อเชื่อมทางรถไฟสายใต้กับทางรถไฟสายเหนือ ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ และสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) ความยาวของทางรถไฟสายใต้ นับจากสถานีรถไฟธนบุรี ถึง ชายแดนไทย-มาเลเซีย ที่อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส รวมทั้งสิ้น 1,144.29 กิโลเมตร เป็นทางรถไฟสายที่ยาวที่สุดในประเทศไท.
ดู สถานีรถไฟกระเบียดและทางรถไฟสายใต้
หรือที่รู้จักกันในชื่อ สถานีรถไฟกะเปียด